ปี 2564 ที่ผ่านมา มีการประชุมที่ว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สมัยที่ 26 (COP26) ณ เมืองกลาสโกว์ ประเทศสกอตแลนด์ โดยมีการบรรลุข้อตกลงเพื่อควบคุมปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และการผลักดันให้ยุติการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล หลายคนจึงตั้งคำถามว่าการประชุมที่ว่านี้เกี่ยวข้องกับระบบเศรษฐกิจอย่างไร และการที่ประเทศไทยตั้งเป้ามุ่งสู่ความเป็นกลางทางคาร์บอนภายในปี 2050 นั้นจะเป็นจริงได้หรือไม่ ? ร่วมพูดคุยในประเด็นนี้กับ ดร.พิรุณ สัยยะสิทธิ์พานิช เลขาธิการสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ติดตามชมรายการเศรษฐกิจติดบ้าน ตอน “สังคมไร้คาร์บอน” กุญแจสำคัญลดโลกร้อน วันศุกร์ที่ 4 พฤศจิกายน 2565 เวลา 22.15 - 22.30 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมทีวีออนไลน์ www.thaipbs.or.th/Live
ปี 2564 ที่ผ่านมา มีการประชุมที่ว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สมัยที่ 26 (COP26) ณ เมืองกลาสโกว์ ประเทศสกอตแลนด์ โดยมีการบรรลุข้อตกลงเพื่อควบคุมปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และการผลักดันให้ยุติการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล หลายคนจึงตั้งคำถามว่าการประชุมที่ว่านี้เกี่ยวข้องกับระบบเศรษฐกิจอย่างไร และการที่ประเทศไทยตั้งเป้ามุ่งสู่ความเป็นกลางทางคาร์บอนภายในปี 2050 นั้นจะเป็นจริงได้หรือไม่ ? ร่วมพูดคุยในประเด็นนี้กับ ดร.พิรุณ สัยยะสิทธิ์พานิช เลขาธิการสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ติดตามชมรายการเศรษฐกิจติดบ้าน ตอน “สังคมไร้คาร์บอน” กุญแจสำคัญลดโลกร้อน วันศุกร์ที่ 4 พฤศจิกายน 2565 เวลา 22.15 - 22.30 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมทีวีออนไลน์ www.thaipbs.or.th/Live