ซู จี รวมถึงผู้นำเมียนมาคนอื่น ๆ และประชาชนจะไม่ใช่คำว่า "โรฮิงญา" อย่างเด็ดขาด แต่จะเรียกว่า "เบงกาลี" ซึ่งหมายถึงคนที่อพยพมาจากบังกลาเทศ แต่เนื่องจากสื่อมวลชนต่างชาติและคนทั่วโลกใช้คำว่า โรฮิงญา มาโดยตลอด ซู จี จึงหยิบยกประเด็นนี้ขึ้นมาพูดโดยมองว่าคำว่าโรฮิงญา เป็นคำที่เชื่อมโยงกับศาสนาจึงทำให้เกิดความอ่อนไหวได้ง่าย แต่ดูเหมือนว่าถ้อยแถลงของซู จี ไม่ได้ช่วยให้ภาพลักษณ์ของรัฐบาลเมียนมาในสายตาชาวโลกดูดีขึ้น
ซู จี รวมถึงผู้นำเมียนมาคนอื่น ๆ และประชาชนจะไม่ใช่คำว่า "โรฮิงญา" อย่างเด็ดขาด แต่จะเรียกว่า "เบงกาลี" ซึ่งหมายถึงคนที่อพยพมาจากบังกลาเทศ แต่เนื่องจากสื่อมวลชนต่างชาติและคนทั่วโลกใช้คำว่า โรฮิงญา มาโดยตลอด ซู จี จึงหยิบยกประเด็นนี้ขึ้นมาพูดโดยมองว่าคำว่าโรฮิงญา เป็นคำที่เชื่อมโยงกับศาสนาจึงทำให้เกิดความอ่อนไหวได้ง่าย แต่ดูเหมือนว่าถ้อยแถลงของซู จี ไม่ได้ช่วยให้ภาพลักษณ์ของรัฐบาลเมียนมาในสายตาชาวโลกดูดีขึ้น