ในปัจจุบันการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมไม่ได้เหมาะแค่สำหรับผู้สูงอายุ เนื่องจากนวัตกรรมที่มีการพัฒนาวัสดุอุปกรณ์ข้อเทียมทำให้ผู้ที่มีปัญหาข้อเข่าเสื่อมก็สามารถเข้ารับการผ่าตัดได้ ฟื้นตัวหลังผ่าตัดได้ดี ซึ่งเทคโนโลยีในอนาคตที่กำลังจะเกิดขึ้นสำหรับการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมคือการพัฒนาวัสดุข้อเทียมให้มีการสึกหรอช้าลง ส่งผลให้สามารถเล่นกีฬาที่มีแรงกระแทก เช่น ฟุตบอล บาสเกตบอล หรือสกี ได้ ติดตามสาระความรู้ต่อกับ ศ.นพ.บุญชนะ พงษ์เจริญ สมาคมออร์โธปิดิกส์แห่งประเทศไทย
สานต่อความสุขในชีวิตของผู้ป่วยโรคข้อ ผ่านประสบการณ์ตรงของผู้ป่วยที่เคยผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม หลังจากได้รับการบาดเจ็บจากการเล่นกีฬาส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตประจำวัน หลังจากได้รับการผ่าตัดทำให้กลับมาเล่นกีฬาได้อีกครั้ง โดยไม่มีอาการบาดเจ็บ ติดตามความรู้ต่อกับ บุญชิต ถีระพันธ์ พยาบาลชำนาญการพิเศษ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์ฯ และพลตรีทวีป ปิยะอรุณ อดีตอุปนายกสมาคมกีฬาคนตาบอดแห่งประเทศไทย
การออกกำลังกายสำหรับผู้ผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่า ผู้ที่ได้รับการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมจะมีอาการตึงรอบ ๆ ข้อเข่า บางรายมีอาจอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรงร่วมด้วย ซึ่งผลต่อการใช้ชีวิตประจำวัน อ.กภ.ชนม์พิสิฐ จันทร์สุข นักกายภาพบำบัดชำนาญการ จะมาสอนท่าออกกำลังกายสำหรับผู้ที่ผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม โดยสามารถเริ่มออกกำลังกายหลังจากได้รับการตามคำแนะนำของแพทย์ รวมถึงคำแนะนำในการประคบเย็นเพื่อลดอาการอักเสบและบวมเพื่อการฟื้นฟูหลังการผ่าตัด
ติดตามชมในรายการคนสู้โรค วันเสาร์ที่ 3 มกราคม 2568 เวลา 07.30 – 08.00 น. ทางไทยพีบีเอส หรือ รับชมสดออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live
เทคโนโลยีการผ่าตัดข้อเข่าเทียม และการฟื้นฟู
ในปัจจุบันการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมไม่ได้เหมาะแค่สำหรับผู้สูงอายุ เนื่องจากนวัตกรรมที่มีการพัฒนาวัสดุอุปกรณ์ข้อเทียมทำให้ผู้ที่มีปัญหาข้อเข่าเสื่อมก็สามารถเข้ารับการผ่าตัดได้ ฟื้นตัวหลังผ่าตัดได้ดี ซึ่งเทคโนโลยีในอนาคตที่กำลังจะเกิดขึ้นสำหรับการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมคือการพัฒนาวัสดุข้อเทียมให้มีการสึกหรอช้าลง ส่งผลให้สามารถเล่นกีฬาที่มีแรงกระแทก เช่น ฟุตบอล บาสเกตบอล หรือสกี ได้ ติดตามสาระความรู้ต่อกับ ศ.นพ.บุญชนะ พงษ์เจริญ สมาคมออร์โธปิดิกส์แห่งประเทศไทย
สานต่อความสุขในชีวิตของผู้ป่วยโรคข้อ ผ่านประสบการณ์ตรงของผู้ป่วยที่เคยผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม หลังจากได้รับการบาดเจ็บจากการเล่นกีฬาส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตประจำวัน หลังจากได้รับการผ่าตัดทำให้กลับมาเล่นกีฬาได้อีกครั้ง โดยไม่มีอาการบาดเจ็บ ติดตามความรู้ต่อกับ บุญชิต ถีระพันธ์ พยาบาลชำนาญการพิเศษ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์ฯ และพลตรีทวีป ปิยะอรุณ อดีตอุปนายกสมาคมกีฬาคนตาบอดแห่งประเทศไทย
การออกกำลังกายสำหรับผู้ผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่า ผู้ที่ได้รับการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมจะมีอาการตึงรอบ ๆ ข้อเข่า บางรายมีอาจอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรงร่วมด้วย ซึ่งผลต่อการใช้ชีวิตประจำวัน อ.กภ.ชนม์พิสิฐ จันทร์สุข นักกายภาพบำบัดชำนาญการ จะมาสอนท่าออกกำลังกายสำหรับผู้ที่ผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม โดยสามารถเริ่มออกกำลังกายหลังจากได้รับการตามคำแนะนำของแพทย์ รวมถึงคำแนะนำในการประคบเย็นเพื่อลดอาการอักเสบและบวมเพื่อการฟื้นฟูหลังการผ่าตัด
ติดตามชมในรายการคนสู้โรค วันเสาร์ที่ 3 มกราคม 2568 เวลา 07.30 – 08.00 น. ทางไทยพีบีเอส หรือ รับชมสดออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live
คนสู้โรค
ยาที่ควรมีในสถานการณ์น้ำท่วม
การใช้ยาอย่างปลอดภัยในสถานการณ์น้ำท่วม
ดูแลจิตใจจากการทำงาน
ยาหอม ยาอม ยาลม ยาดม ยาหม่อง แตกต่างกันอย่างไร
ประคบร้อนหรือเย็น ควรเลือกอะไรเมื่อบาดเจ็บ
ผ่าตัดโรคข้อด้วยการส่องกล้อง
โรคตาปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ
วิตกกังวลมากไป จนกลายเป็นโรคตื่นตระหนก
เครื่องดึงคอ ดึงหลัง ใช้เองที่บ้านปลอดภัยหรือไม่
เครื่องกระตุ้นไฟฟ้า นำมาใช้เองที่บ้านได้หรือไม่
การผ่าตัดเปลี่ยนผิวข้อเข่าเทียมบางส่วน
นวดแผนไทย สามารถนวดได้ทุกวันหรือไม่
ปอดแข็งแรง อายุยืนยาว
ถุงลมโป่งพอง ป้องกันได้
สมุนไพรที่ช่วยบำรุงปอด
ปวดเข่า ในวัยทำงาน
ข้อเข่าเสื่อมกับงานด้านกายภาพ
สูงวัยสุขภาพดี เดินดี ไม่ลืม ไม่ล้ม อารมณ์แจ่มใส
วิธีดูแลจมูกสำหรับคนเป็นไซนัสอับเสบเมื่อเข้าสู่ฤดูหนาว
โภชนาน่ารู้ในโรคถุงลมโป่งพอง
การฟื้นฟูผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง
หูอื้อ เสียงในหู อาการแบบไหนที่ไม่ควรมองข้าม
การตระหนักรู้ต่อการจัดการอาการกำเริบในผู้ป่วยโรคปอดอุดกลั้นเรื้อรัง
เทคโนโลยีการรักษาโรคหู คอ จมูก ด้วยคลื่นวิทยุ
นิ่วทอนซิลคืออะไร อันตรายหรือไม่
รู้จักคลื่นอัลตราซาวนด์
เทคโนโลยีการผ่าตัดข้อเข่าเทียม และการฟื้นฟู
คนสู้โรค
คนสู้โรค
ประตูย้อนวัย สูงวัยสุขภาพดี
คนสู้โรค
ยาที่ควรมีในสถานการณ์น้ำท่วม
การใช้ยาอย่างปลอดภัยในสถานการณ์น้ำท่วม
ดูแลจิตใจจากการทำงาน
ยาหอม ยาอม ยาลม ยาดม ยาหม่อง แตกต่างกันอย่างไร
ประคบร้อนหรือเย็น ควรเลือกอะไรเมื่อบาดเจ็บ
ผ่าตัดโรคข้อด้วยการส่องกล้อง
โรคตาปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ
วิตกกังวลมากไป จนกลายเป็นโรคตื่นตระหนก
เครื่องดึงคอ ดึงหลัง ใช้เองที่บ้านปลอดภัยหรือไม่
เครื่องกระตุ้นไฟฟ้า นำมาใช้เองที่บ้านได้หรือไม่
การผ่าตัดเปลี่ยนผิวข้อเข่าเทียมบางส่วน
นวดแผนไทย สามารถนวดได้ทุกวันหรือไม่
ปอดแข็งแรง อายุยืนยาว
ถุงลมโป่งพอง ป้องกันได้
สมุนไพรที่ช่วยบำรุงปอด
ปวดเข่า ในวัยทำงาน
ข้อเข่าเสื่อมกับงานด้านกายภาพ
สูงวัยสุขภาพดี เดินดี ไม่ลืม ไม่ล้ม อารมณ์แจ่มใส
วิธีดูแลจมูกสำหรับคนเป็นไซนัสอับเสบเมื่อเข้าสู่ฤดูหนาว
โภชนาน่ารู้ในโรคถุงลมโป่งพอง
การฟื้นฟูผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง
หูอื้อ เสียงในหู อาการแบบไหนที่ไม่ควรมองข้าม
การตระหนักรู้ต่อการจัดการอาการกำเริบในผู้ป่วยโรคปอดอุดกลั้นเรื้อรัง
เทคโนโลยีการรักษาโรคหู คอ จมูก ด้วยคลื่นวิทยุ
นิ่วทอนซิลคืออะไร อันตรายหรือไม่
รู้จักคลื่นอัลตราซาวนด์
เทคโนโลยีการผ่าตัดข้อเข่าเทียม และการฟื้นฟู
คนสู้โรค
คนสู้โรค
ประตูย้อนวัย สูงวัยสุขภาพดี