นอกจากสวมหน้ากากอนามัย หมั่นล้างมือบ่อย ๆ แล้ว ในช่วงที่เชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 หรือ COVID-19 กำลังระบาด เรายังสามารถป้องกันตัวเองได้ด้วยการกินอาหารที่มีประโยชน์ แต่จะมีอาหารชนิดใดบ้างที่ช่วยเสริมภูมิคุ้มกันร่างกาย ป้องกันเชื้อไวรัสเหล่านี้ได้ มาฟังคำแนะนำจาก ผศ.ดร.เอกราช บำรุงพืชน์ อาจารย์ประจำวิทยาลัยการแพทย์บูรณาการ ในช่วงรู้สู้โรค จากนั้นในช่วงปรับก่อนป่วย มาเรียนรู้จุดกดเจ็บ หรือ Trigger point ที่ทำให้เกิดอาการเจ็บปวดตามร่างกาย มักเกิดขึ้นในคนที่นั่งทำงานด้วยท่าเดิมเป็นเวลานาน ๆ แล้วอาการนี้หากไม่รักษาจะอันตรายแค่ไหน สามารถบรรเทาและป้องกันได้ด้วยวิธีใดบ้าง มาฟังคำแนะนำจาก เพ็ญพิชชากร แสนคำ นักกายภาพบำบัด ปิดท้ายด้วยช่วงโยคะบำบัด ชวนสาว ๆ มาฝึกโยคะท่าบิดตัว ช่วยแก้ปวดหลัง กับครูตูน ธิวาภรณ์ สังขพงศ์
ติดตามชมในรายการคนสู้โรค วันพฤหัสบดีที่ 5 มีนาคม 2563 เวลา 15.05 – 15.30 น. ทางไทยพีบีเอส หรือ รับชมสดออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/live
คนสู้โรค
แปรงฟันอย่างไรไม่ให้เหงือกร่น, โยคะปรับบุคลิก เปิดไหล่ หลังตรง อกผาย
น้ำมะนาวดอง, ผลไม้อบแห้ง ต้องระวังสุขภาพ
ข้าวหมาก โปรไบโอติกส์แบบไทย, สัมผัสวิถีชุมชนไทญ้อ
อาหารสำหรับหญิงวัยทอง, ยืดกล้ามเนื้อรอบสะโพก แก้ปวดหลังล่าง
มะเร็งรังไข่ ภัยเงียบในผู้ผญิง, ปรับท่าทางการขับรถ แก้ปวดเมื่อย
เมาท์สเปรย์กับลูกอมดับกลิ่นปาก ช่วยได้จริงหรือไม่, ท่าโยคะบริหารระบบเจริญพันธุ์
อาหารต้าน COVID-19, คลายจุดกดเจ็บ
สูตรทำสมูททีแอปเปิล, เที่ยวไปเรียนรู้ไปที่สะเมิง จ.เชียงใหม่
ขมิ้นชัน ป้องกันโรค, ตรวจความฟิต พิชิตโรคในวัยเก๋า
รู้และเข้าใจเรื่องโรคไต, กิจกรรมบำบัดอาหารใจให้หลับดี
รู้ทันข้อต่อขากรรไกร, โยคะชุดท่าแก้ท้องผูก
กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ ต้องดูอะไรบ้าง, พิลาทิสง่าย ๆ ฝึกได้ที่บ้าน
ผักขม ๆ มีดี, เที่ยวเชียงใหม่ในมุมใหม่
อาหารสำหรับคนท้องเสีย, ฝังเข็มแก้ปวดเข่า
ใช้หน้ากากอนามัยอย่างไรไม่ให้เกิดสิว, โยคะกระชับเอว
การทำทันตกรรมในผู้ป่วยเบาหวาน, พิลาทิสคลายปวดคอ บ่า ไหล่
น้ำในหู ต้องรู้ไว้, ทำสเปรย์แอลกอฮอล์ฆ่าเชื้อ
โยเกิร์ตขมิ้นชัน, เรียนรู้การทำขนมตาล และน้ำตาลสด
การใช้ยากับโรคไต, ล้มอย่างไรไม่ให้เจ็บ
รู้ทันเรื่องผมหงอก, ท่าแก้เมื่อยสำหรับคนนั่งนาน
สมูททีมะยงชิด, แชมพูมะกรูดออร์แกนิก
อาหารสำหรับคนตั้งครรภ์, ฝังเข็มแก้ปวดจากออฟฟิศซินโดรม
โภชนาการกับโรคไต, ออกกำลังกายห่างไกลสมองเสื่อม
เคี้ยวอาหารข้างเดียว ทำให้หน้าเบี้ยวจริงหรือ...?, กระชับหุ่นก่อนนอนใน 5 นาที
ตากแดด ทำให้หน้าแก่ไวจริงหรือ...?, ฝังเข็มเพิ่มภูมิต้านทาน
น้ำเห็ด 3 อย่าง ผสมมะตูมและใบเตย, วัยเก๋าเที่ยวจังหวัดสุราษฎร์ธานี และพังงา
การบำบัดทดแทนไต, บริหารป้องกันหลังเสื่อม
เศษอาหาร ตัวการเหงือกอักเสบ, ยืด ย่อ ยก บริหารร่างกายส่วนล่าง
ป้องกันการเป็นลมหน้ามืดในผู้สูงวัย, 3 ท่าง่าย ๆ เพื่อวัยเก๋าแข็งแรง
หยุดแพร่เชื้อโควิด-19 ด้วยการมีระยะห่าง, คำถาม-คำตอบเรื่องยาและแอลกอฮอล์
คนสู้โรค
แปรงฟันอย่างไรไม่ให้เหงือกร่น, โยคะปรับบุคลิก เปิดไหล่ หลังตรง อกผาย
น้ำมะนาวดอง, ผลไม้อบแห้ง ต้องระวังสุขภาพ
ข้าวหมาก โปรไบโอติกส์แบบไทย, สัมผัสวิถีชุมชนไทญ้อ
อาหารสำหรับหญิงวัยทอง, ยืดกล้ามเนื้อรอบสะโพก แก้ปวดหลังล่าง
มะเร็งรังไข่ ภัยเงียบในผู้ผญิง, ปรับท่าทางการขับรถ แก้ปวดเมื่อย
เมาท์สเปรย์กับลูกอมดับกลิ่นปาก ช่วยได้จริงหรือไม่, ท่าโยคะบริหารระบบเจริญพันธุ์
อาหารต้าน COVID-19, คลายจุดกดเจ็บ
สูตรทำสมูททีแอปเปิล, เที่ยวไปเรียนรู้ไปที่สะเมิง จ.เชียงใหม่
ขมิ้นชัน ป้องกันโรค, ตรวจความฟิต พิชิตโรคในวัยเก๋า
รู้และเข้าใจเรื่องโรคไต, กิจกรรมบำบัดอาหารใจให้หลับดี
รู้ทันข้อต่อขากรรไกร, โยคะชุดท่าแก้ท้องผูก
กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ ต้องดูอะไรบ้าง, พิลาทิสง่าย ๆ ฝึกได้ที่บ้าน
ผักขม ๆ มีดี, เที่ยวเชียงใหม่ในมุมใหม่
อาหารสำหรับคนท้องเสีย, ฝังเข็มแก้ปวดเข่า
ใช้หน้ากากอนามัยอย่างไรไม่ให้เกิดสิว, โยคะกระชับเอว
การทำทันตกรรมในผู้ป่วยเบาหวาน, พิลาทิสคลายปวดคอ บ่า ไหล่
น้ำในหู ต้องรู้ไว้, ทำสเปรย์แอลกอฮอล์ฆ่าเชื้อ
โยเกิร์ตขมิ้นชัน, เรียนรู้การทำขนมตาล และน้ำตาลสด
การใช้ยากับโรคไต, ล้มอย่างไรไม่ให้เจ็บ
รู้ทันเรื่องผมหงอก, ท่าแก้เมื่อยสำหรับคนนั่งนาน
สมูททีมะยงชิด, แชมพูมะกรูดออร์แกนิก
อาหารสำหรับคนตั้งครรภ์, ฝังเข็มแก้ปวดจากออฟฟิศซินโดรม
โภชนาการกับโรคไต, ออกกำลังกายห่างไกลสมองเสื่อม
เคี้ยวอาหารข้างเดียว ทำให้หน้าเบี้ยวจริงหรือ...?, กระชับหุ่นก่อนนอนใน 5 นาที
ตากแดด ทำให้หน้าแก่ไวจริงหรือ...?, ฝังเข็มเพิ่มภูมิต้านทาน
น้ำเห็ด 3 อย่าง ผสมมะตูมและใบเตย, วัยเก๋าเที่ยวจังหวัดสุราษฎร์ธานี และพังงา
การบำบัดทดแทนไต, บริหารป้องกันหลังเสื่อม
เศษอาหาร ตัวการเหงือกอักเสบ, ยืด ย่อ ยก บริหารร่างกายส่วนล่าง
ป้องกันการเป็นลมหน้ามืดในผู้สูงวัย, 3 ท่าง่าย ๆ เพื่อวัยเก๋าแข็งแรง
หยุดแพร่เชื้อโควิด-19 ด้วยการมีระยะห่าง, คำถาม-คำตอบเรื่องยาและแอลกอฮอล์