โรคเกาต์เทียม มีปัจจัยเสี่ยงมาจากอายุที่เพิ่มมากขึ้นพบได้บ่อยในผู้ที่อายุมากกว่า 60 ปี นอกจากอายุยังมีปัจจัยอื่น เช่น ภาวะฮอร์โมนพาราไทรอยด์สูง (Hyperparathyroidism) ภาวะเหล็กเกินในร่างกาย (Hemochromatosis) ไม่ใช่ผู้สูงอายุเท่านั้นที่เป็นได้แต่อายุน้อยก็สามาถเป็นได้เช่นกันสาเหตุเกิดจากพันธุกรรม อาการของโรคเกาต์จริง และโรคเกาต์เทียมทั้ง 2 แบบที่เหมือนกัน คือ ปวด บวม แดง ร้อน บริเวณตำแหน่งข้อล่างเป็นหลักวัน แต่เกาต์เทียมสามารถปวดได้นานกว่าเกาต์จริงเป็นหลักเดือน ติดตามความรู้จาก พญ.วิภาดา จาติเสถียร อายุรแพทย์โรคข้อและรูมาติสซั่ม โรงพยาบาลจุฬาภรณ์
ชมย้อนหลังรายการคนสู้โรคได้ที่ www.thaipbs.or.th/KonSuRoak
โรคเกาต์เทียม มีปัจจัยเสี่ยงมาจากอายุที่เพิ่มมากขึ้นพบได้บ่อยในผู้ที่อายุมากกว่า 60 ปี นอกจากอายุยังมีปัจจัยอื่น เช่น ภาวะฮอร์โมนพาราไทรอยด์สูง (Hyperparathyroidism) ภาวะเหล็กเกินในร่างกาย (Hemochromatosis) ไม่ใช่ผู้สูงอายุเท่านั้นที่เป็นได้แต่อายุน้อยก็สามาถเป็นได้เช่นกันสาเหตุเกิดจากพันธุกรรม อาการของโรคเกาต์จริง และโรคเกาต์เทียมทั้ง 2 แบบที่เหมือนกัน คือ ปวด บวม แดง ร้อน บริเวณตำแหน่งข้อล่างเป็นหลักวัน แต่เกาต์เทียมสามารถปวดได้นานกว่าเกาต์จริงเป็นหลักเดือน ติดตามความรู้จาก พญ.วิภาดา จาติเสถียร อายุรแพทย์โรคข้อและรูมาติสซั่ม โรงพยาบาลจุฬาภรณ์
ชมย้อนหลังรายการคนสู้โรคได้ที่ www.thaipbs.or.th/KonSuRoak