อุทยานหอยทากอาช่า จ.นครนายก ถือเป็นฟาร์มหอยทากต้นแบบที่เลี้ยงประมาณ 3,000 ตัว จากหอยทากที่เป็นศัตรูพืช สร้างความเสียหากมากว่าพันล้านบาท สู่การนำมาทำสารสกัดจากเมือกหอยทากที่มีประโยชน์ในการนำมาดูแลผิวพรรณ และเวชสำอาง ทั้งในรูปแบบของเซรั่ม ส่งออกเป็นวัตถุดิบโดยแปรรูปเป็นเมือกหอยทากผงแห้ง รวมไปถึงแนวคิดการนำเมือกหอยทากไปพัฒนาต่อยอดสู่การทำเป็นยารักษาโรค โดยจำแนกยาจากเมือกหอยทากได้เป็น 2 ชนิด ได้แก่ ยาละลายลิ่มเลือด และ ยายับยั้งการขยายตัวของเซลล์มะเร็งเต้านม การนำเมือกหอยทากมาใช้ประโยชน์ ควรผ่านการกรองอย่างละเอียด เพื่อคัดแยกเชื้อโรค เชื้อจุลินทรีย์ที่อาจปนเปื้อนติดมาด้วย เพื่อให้ได้เมือกหอยทากที่มีความบริสุทธิ์ สะอาด ก่อนนำไปใช้งาน ติดตามแนวความคิดการพัฒนาเมือกหอยทาก จาก กฤตพง ภัทรธุวานัน วิสาหกิจชุมชนเกษตรยั่งยืนหอยทากอาช่า จ.นครนายก และ ศ. ดร.ปรัชญา คงทวีเลิศ อาจารย์ภาควิชาชีวเคมี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ชมย้อนหลังรายการคนสู้โรคได้ที่ www.thaipbs.or.th/KonSuRoak
อุทยานหอยทากอาช่า จ.นครนายก ถือเป็นฟาร์มหอยทากต้นแบบที่เลี้ยงประมาณ 3,000 ตัว จากหอยทากที่เป็นศัตรูพืช สร้างความเสียหากมากว่าพันล้านบาท สู่การนำมาทำสารสกัดจากเมือกหอยทากที่มีประโยชน์ในการนำมาดูแลผิวพรรณ และเวชสำอาง ทั้งในรูปแบบของเซรั่ม ส่งออกเป็นวัตถุดิบโดยแปรรูปเป็นเมือกหอยทากผงแห้ง รวมไปถึงแนวคิดการนำเมือกหอยทากไปพัฒนาต่อยอดสู่การทำเป็นยารักษาโรค โดยจำแนกยาจากเมือกหอยทากได้เป็น 2 ชนิด ได้แก่ ยาละลายลิ่มเลือด และ ยายับยั้งการขยายตัวของเซลล์มะเร็งเต้านม การนำเมือกหอยทากมาใช้ประโยชน์ ควรผ่านการกรองอย่างละเอียด เพื่อคัดแยกเชื้อโรค เชื้อจุลินทรีย์ที่อาจปนเปื้อนติดมาด้วย เพื่อให้ได้เมือกหอยทากที่มีความบริสุทธิ์ สะอาด ก่อนนำไปใช้งาน ติดตามแนวความคิดการพัฒนาเมือกหอยทาก จาก กฤตพง ภัทรธุวานัน วิสาหกิจชุมชนเกษตรยั่งยืนหอยทากอาช่า จ.นครนายก และ ศ. ดร.ปรัชญา คงทวีเลิศ อาจารย์ภาควิชาชีวเคมี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ชมย้อนหลังรายการคนสู้โรคได้ที่ www.thaipbs.or.th/KonSuRoak