ความเสี่ยงในการเกิดโรคหัวใจล้มเหลว สาเหตุหนึ่งมาจากลิ้นหัวใจเอ-ออร์ติกตีบ ซึ่งพบว่าคนไทยมีอัตราการเกิดโรคนี้เพิ่มสูงขึ้น โดยเฉพาะในวัยผู้สูงอายุ เนื่องจากมีความเสื่อมลงของสภาพร่างกาย หรือแม้กระทั่งผู้ที่มีโรคประจำตัว เช่น ความดัน ไขมัน หรือมีพฤติกรรมที่ชอบสูบบุหรี่ ลักษณะอาการจะเริ่มมีอาการขาบวม นอนราบไม่ได้ หากลุกยืนหรือเดินอาจมีอาการหน้ามืด ทำให้หมดสติได้ การเข้ามาตรวจคัดกรองจะทำให้ทราบถึงตัวโรคได้ไว นำไปสู่การรักษาโดยนวัตกรรมทางการแพทย์ ที่พัฒนาขึ้นเพื่อให้มีประสิทธิภาพในการรักษามากยิ่งขึ้น ติดตามความรู้จาก นพ. วิโรจน์ เมืองศิลปะศาสตร์ แพทย์เฉพาะทางโรคหัวใจและหลอดเลือด รพ.จุฬาภรณ์
ความเสี่ยงในการเกิดโรคหัวใจล้มเหลว สาเหตุหนึ่งมาจากลิ้นหัวใจเอ-ออร์ติกตีบ ซึ่งพบว่าคนไทยมีอัตราการเกิดโรคนี้เพิ่มสูงขึ้น โดยเฉพาะในวัยผู้สูงอายุ เนื่องจากมีความเสื่อมลงของสภาพร่างกาย หรือแม้กระทั่งผู้ที่มีโรคประจำตัว เช่น ความดัน ไขมัน หรือมีพฤติกรรมที่ชอบสูบบุหรี่ ลักษณะอาการจะเริ่มมีอาการขาบวม นอนราบไม่ได้ หากลุกยืนหรือเดินอาจมีอาการหน้ามืด ทำให้หมดสติได้ การเข้ามาตรวจคัดกรองจะทำให้ทราบถึงตัวโรคได้ไว นำไปสู่การรักษาโดยนวัตกรรมทางการแพทย์ ที่พัฒนาขึ้นเพื่อให้มีประสิทธิภาพในการรักษามากยิ่งขึ้น ติดตามความรู้จาก นพ. วิโรจน์ เมืองศิลปะศาสตร์ แพทย์เฉพาะทางโรคหัวใจและหลอดเลือด รพ.จุฬาภรณ์