ค้นหา
ทีวีออนไลน์
เว็บไซต์ในเครือ
เว็บไซต์บริการ
รู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อ

ทำไมเราถึงเชื่อ "ข่าวลือ"

หน้ารายการ
13 มิ.ย. 63

ลือหึ่ง, ลือสนั่น, คนวงในบอกว่า... พาดหัวข่าวเหล่านี้ได้ยินได้ฟังแล้วก็รู้ได้เลยว่าเป็น "ข่าวลือ" ที่ยังไม่มีข้อเท็จจริงที่ชัดเจน แต่ในทางกลับกัน มีบางคนปักใจเชื่อและพร้อมที่จะบอกต่อ "ข่าวลือ" นั้นออกไป ซึ่งก็น่าเป็นห่วงว่า "ข่าวลือ" ที่บอกกันไปแบบปากต่อปาก มักจะทำให้ข้อมูลหรือเรื่องราวนั้นผิดเพี้ยนไปเรื่อย ๆ และสร้างผลกระทบต่อการรับรู้ข้อมูลข่าวสารของเรา โดยเฉพาะในยุคดิจิทัลที่ทุกคนมีสื่ออยู่ในมือ "ข่าวลือ" สามารถแพร่กระจายได้อย่างรวดเร็ว ทำให้ในปี 2559 คณะนิเทศศาสตร์และคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ทำการศึกษาวิจัยเรื่อง "ข่าวลือท่ามกลางวิกฤตการณ์ทางการเมืองในทวิตเตอร์" พบข้อมูลที่น่าสนใจว่า ข่าวลือส่วนใหญ่ที่เกิดขึ้นในทวิตเตอร์ สร้างขึ้นโดยผู้ใช้ทวิตเตอร์ทั่วไป เมื่อข่าวลือแพร่ออกไป สื่อมวลชนก็จะตรวจสอบและแก้ข่าวว่าเป็นเรื่องจริงหรือไม่จริง แต่อย่างไรก็ตาม กระแสการไหลเวียนของข่าวลือและข่าวแก้มีแนวโน้มที่จะเป็นเส้นคู่ขนาน เพราะแม้มีข่าวแก้ออกมาแล้ว แต่ข่าวลือก็ยังกระจายตัวไปเรื่อย ๆ สะท้อนให้เห็นว่าพลังของ "ข่าวลือ" มีมากกว่า "ข่าวแก้" แล้วคุณผู้ชมสงสัยไหมว่า "ข่าวลือ" เกิดขึ้นได้อย่างไร แล้วทำไม "ข่าวลือ" ถึงมีอิทธิพลต่อความคิด ความเชื่อของเรา ไปรู้เท่าทันสื่อเรื่องนี้กัน

ติดตามชมได้ในรายการเปิดบ้านไทยพีบีเอส ทุกวันเสาร์ เวลา 13.45 - 14.00 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมย้อนหลังได้ทาง www.thaipbs.or.th/OpenThaiPBS

ทำไมเราถึงเชื่อ "ข่าวลือ"

13 มิ.ย. 63

ลือหึ่ง, ลือสนั่น, คนวงในบอกว่า... พาดหัวข่าวเหล่านี้ได้ยินได้ฟังแล้วก็รู้ได้เลยว่าเป็น "ข่าวลือ" ที่ยังไม่มีข้อเท็จจริงที่ชัดเจน แต่ในทางกลับกัน มีบางคนปักใจเชื่อและพร้อมที่จะบอกต่อ "ข่าวลือ" นั้นออกไป ซึ่งก็น่าเป็นห่วงว่า "ข่าวลือ" ที่บอกกันไปแบบปากต่อปาก มักจะทำให้ข้อมูลหรือเรื่องราวนั้นผิดเพี้ยนไปเรื่อย ๆ และสร้างผลกระทบต่อการรับรู้ข้อมูลข่าวสารของเรา โดยเฉพาะในยุคดิจิทัลที่ทุกคนมีสื่ออยู่ในมือ "ข่าวลือ" สามารถแพร่กระจายได้อย่างรวดเร็ว ทำให้ในปี 2559 คณะนิเทศศาสตร์และคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ทำการศึกษาวิจัยเรื่อง "ข่าวลือท่ามกลางวิกฤตการณ์ทางการเมืองในทวิตเตอร์" พบข้อมูลที่น่าสนใจว่า ข่าวลือส่วนใหญ่ที่เกิดขึ้นในทวิตเตอร์ สร้างขึ้นโดยผู้ใช้ทวิตเตอร์ทั่วไป เมื่อข่าวลือแพร่ออกไป สื่อมวลชนก็จะตรวจสอบและแก้ข่าวว่าเป็นเรื่องจริงหรือไม่จริง แต่อย่างไรก็ตาม กระแสการไหลเวียนของข่าวลือและข่าวแก้มีแนวโน้มที่จะเป็นเส้นคู่ขนาน เพราะแม้มีข่าวแก้ออกมาแล้ว แต่ข่าวลือก็ยังกระจายตัวไปเรื่อย ๆ สะท้อนให้เห็นว่าพลังของ "ข่าวลือ" มีมากกว่า "ข่าวแก้" แล้วคุณผู้ชมสงสัยไหมว่า "ข่าวลือ" เกิดขึ้นได้อย่างไร แล้วทำไม "ข่าวลือ" ถึงมีอิทธิพลต่อความคิด ความเชื่อของเรา ไปรู้เท่าทันสื่อเรื่องนี้กัน

ติดตามชมได้ในรายการเปิดบ้านไทยพีบีเอส ทุกวันเสาร์ เวลา 13.45 - 14.00 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมย้อนหลังได้ทาง www.thaipbs.or.th/OpenThaiPBS

รู้เท่าทันสื่อ

1 - 30
31 - 60
61 - 90
91 - ล่าสุด
เมื่อวัยรุ่นเรียนรู้เรื่องเพศผ่านสื่อ
เมื่อวัยรุ่นเรียนรู้เรื่องเพศผ่านสื่อ
28 ธ.ค. 62
เมื่อ "สื่อ" บอกวิธีการฆาตกรรมอย่างละเอียด
เมื่อ "สื่อ" บอกวิธีการฆาตกรรมอย่างละเอียด
4 ม.ค. 63
ทำไมไม่ควรเปิดจอให้ลูกดูตอนกินข้าว
ทำไมไม่ควรเปิดจอให้ลูกดูตอนกินข้าว
10 ม.ค. 63
ทำไมชาวเน็ตถึงล่าแม่มดออนไลน์
ทำไมชาวเน็ตถึงล่าแม่มดออนไลน์
11 ม.ค. 63
ทำไมเราถึงระบายอารมณ์ผ่านโซเชียลมีเดีย
ทำไมเราถึงระบายอารมณ์ผ่านโซเชียลมีเดีย
18 ม.ค. 63
ทำไมเราถึงสนใจภาพความรุนแรง
ทำไมเราถึงสนใจภาพความรุนแรง
25 ม.ค. 63
ผู้บริโภคไทย "เหยื่อ" โฆษณาเกินจริง
ผู้บริโภคไทย "เหยื่อ" โฆษณาเกินจริง
1 ก.พ. 63
Digital Empathy คืออะไร
Digital Empathy คืออะไร
8 ก.พ. 63
ใครสร้างข่าวปลอมไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019
ใครสร้างข่าวปลอมไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019
15 ก.พ. 63
ภัยเงียบจากการ Sexting
ภัยเงียบจากการ Sexting
22 ก.พ. 63
นักสืบโซเชียลคือใคร
นักสืบโซเชียลคือใคร
29 ก.พ. 63
ฉายาอาชญากรจำเป็นหรือไม่
ฉายาอาชญากรจำเป็นหรือไม่
7 มี.ค. 63
เมื่อประชาชนจับตาจริยธรรมสื่อมวลชน
เมื่อประชาชนจับตาจริยธรรมสื่อมวลชน
21 มี.ค. 63
Panic Buying คืออะไร
Panic Buying คืออะไร
28 มี.ค. 63
สื่อควรทำหน้าที่อย่างไรในภาวะวิกฤต
สื่อควรทำหน้าที่อย่างไรในภาวะวิกฤต
4 เม.ย. 63
ทำไมเราถึงเชื่อและแชร์ข้อมูลผิด ๆ COVID-19
ทำไมเราถึงเชื่อและแชร์ข้อมูลผิด ๆ COVID-19
11 เม.ย. 63
เมื่อโซเชียลมีเดียสร้างแรงกดดันให้บุคลากรทางการแพทย์
เมื่อโซเชียลมีเดียสร้างแรงกดดันให้บุคลากรทางการแพทย์
18 เม.ย. 63
ทำไมไม่ควรเปิดเผยชื่อผู้ป่วย COVID-19
ทำไมไม่ควรเปิดเผยชื่อผู้ป่วย COVID-19
25 เม.ย. 63
เลือกใช้คำอย่างไร ไม่ให้เกิดความตื่นตระหนก
เลือกใช้คำอย่างไร ไม่ให้เกิดความตื่นตระหนก
23 พ.ค. 63
รู้เท่าทันภัย Phishing
รู้เท่าทันภัย Phishing
30 พ.ค. 63
กลลวงพนันออนไลน์
กลลวงพนันออนไลน์
6 มิ.ย. 63
กำลังเล่น...
ทำไมเราถึงเชื่อ "ข่าวลือ"
ทำไมเราถึงเชื่อ "ข่าวลือ"
13 มิ.ย. 63
การตีตราทางสังคมคืออะไร ?
การตีตราทางสังคมคืออะไร ?
20 มิ.ย. 63
วงจรข้อมูลลวง COVID-19
วงจรข้อมูลลวง COVID-19
27 มิ.ย. 63
เมื่อข่าวผสมเรื่องไสยศาสตร์
เมื่อข่าวผสมเรื่องไสยศาสตร์
4 ก.ค. 63
ทำไมเราชอบอวดบนโลกโซเชียล
ทำไมเราชอบอวดบนโลกโซเชียล
11 ก.ค. 63
เมื่อ YouTuber พูดคำหยาบ ส่งผลอย่างไร
เมื่อ YouTuber พูดคำหยาบ ส่งผลอย่างไร
18 ก.ค. 63
เมื่อประชาชนเขย่าแหล่งรายได้สื่อ เพื่อเรียกร้องจริยธรรม
เมื่อประชาชนเขย่าแหล่งรายได้สื่อ เพื่อเรียกร้องจริยธรรม
25 ก.ค. 63
เมื่อเกมออนไลน์แฝงการพนัน
เมื่อเกมออนไลน์แฝงการพนัน
1 ส.ค. 63
โปรโมชันสินค้าออนไลน์
โปรโมชันสินค้าออนไลน์
8 ส.ค. 63

รู้เท่าทันสื่อ

1 - 30
31 - 60
61 - 90
91 - ล่าสุด
เมื่อวัยรุ่นเรียนรู้เรื่องเพศผ่านสื่อ
เมื่อวัยรุ่นเรียนรู้เรื่องเพศผ่านสื่อ
28 ธ.ค. 62
เมื่อ "สื่อ" บอกวิธีการฆาตกรรมอย่างละเอียด
เมื่อ "สื่อ" บอกวิธีการฆาตกรรมอย่างละเอียด
4 ม.ค. 63
ทำไมไม่ควรเปิดจอให้ลูกดูตอนกินข้าว
ทำไมไม่ควรเปิดจอให้ลูกดูตอนกินข้าว
10 ม.ค. 63
ทำไมชาวเน็ตถึงล่าแม่มดออนไลน์
ทำไมชาวเน็ตถึงล่าแม่มดออนไลน์
11 ม.ค. 63
ทำไมเราถึงระบายอารมณ์ผ่านโซเชียลมีเดีย
ทำไมเราถึงระบายอารมณ์ผ่านโซเชียลมีเดีย
18 ม.ค. 63
ทำไมเราถึงสนใจภาพความรุนแรง
ทำไมเราถึงสนใจภาพความรุนแรง
25 ม.ค. 63
ผู้บริโภคไทย "เหยื่อ" โฆษณาเกินจริง
ผู้บริโภคไทย "เหยื่อ" โฆษณาเกินจริง
1 ก.พ. 63
Digital Empathy คืออะไร
Digital Empathy คืออะไร
8 ก.พ. 63
ใครสร้างข่าวปลอมไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019
ใครสร้างข่าวปลอมไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019
15 ก.พ. 63
ภัยเงียบจากการ Sexting
ภัยเงียบจากการ Sexting
22 ก.พ. 63
นักสืบโซเชียลคือใคร
นักสืบโซเชียลคือใคร
29 ก.พ. 63
ฉายาอาชญากรจำเป็นหรือไม่
ฉายาอาชญากรจำเป็นหรือไม่
7 มี.ค. 63
เมื่อประชาชนจับตาจริยธรรมสื่อมวลชน
เมื่อประชาชนจับตาจริยธรรมสื่อมวลชน
21 มี.ค. 63
Panic Buying คืออะไร
Panic Buying คืออะไร
28 มี.ค. 63
สื่อควรทำหน้าที่อย่างไรในภาวะวิกฤต
สื่อควรทำหน้าที่อย่างไรในภาวะวิกฤต
4 เม.ย. 63
ทำไมเราถึงเชื่อและแชร์ข้อมูลผิด ๆ COVID-19
ทำไมเราถึงเชื่อและแชร์ข้อมูลผิด ๆ COVID-19
11 เม.ย. 63
เมื่อโซเชียลมีเดียสร้างแรงกดดันให้บุคลากรทางการแพทย์
เมื่อโซเชียลมีเดียสร้างแรงกดดันให้บุคลากรทางการแพทย์
18 เม.ย. 63
ทำไมไม่ควรเปิดเผยชื่อผู้ป่วย COVID-19
ทำไมไม่ควรเปิดเผยชื่อผู้ป่วย COVID-19
25 เม.ย. 63
เลือกใช้คำอย่างไร ไม่ให้เกิดความตื่นตระหนก
เลือกใช้คำอย่างไร ไม่ให้เกิดความตื่นตระหนก
23 พ.ค. 63
รู้เท่าทันภัย Phishing
รู้เท่าทันภัย Phishing
30 พ.ค. 63
กลลวงพนันออนไลน์
กลลวงพนันออนไลน์
6 มิ.ย. 63
กำลังเล่น...
ทำไมเราถึงเชื่อ "ข่าวลือ"
ทำไมเราถึงเชื่อ "ข่าวลือ"
13 มิ.ย. 63
การตีตราทางสังคมคืออะไร ?
การตีตราทางสังคมคืออะไร ?
20 มิ.ย. 63
วงจรข้อมูลลวง COVID-19
วงจรข้อมูลลวง COVID-19
27 มิ.ย. 63
เมื่อข่าวผสมเรื่องไสยศาสตร์
เมื่อข่าวผสมเรื่องไสยศาสตร์
4 ก.ค. 63
ทำไมเราชอบอวดบนโลกโซเชียล
ทำไมเราชอบอวดบนโลกโซเชียล
11 ก.ค. 63
เมื่อ YouTuber พูดคำหยาบ ส่งผลอย่างไร
เมื่อ YouTuber พูดคำหยาบ ส่งผลอย่างไร
18 ก.ค. 63
เมื่อประชาชนเขย่าแหล่งรายได้สื่อ เพื่อเรียกร้องจริยธรรม
เมื่อประชาชนเขย่าแหล่งรายได้สื่อ เพื่อเรียกร้องจริยธรรม
25 ก.ค. 63
เมื่อเกมออนไลน์แฝงการพนัน
เมื่อเกมออนไลน์แฝงการพนัน
1 ส.ค. 63
โปรโมชันสินค้าออนไลน์
โปรโมชันสินค้าออนไลน์
8 ส.ค. 63

ละครดี ซีรีส์เด่น

ดูทั้งหมด
ละครบ้านชนะใจ

♫ ♫ Songs Popular ♫ ♫

ดูทั้งหมด

คลิปมาใหม่

คนดูเยอะ 👀

ดูทั้งหมด

เสน่ห์ประเทศไทย