ส่องมาตรการ รับมือน้ำท่วม กทม.ปรากฎการณ์เมฆอาร์คัสเมื่อวันที่ 29 ส.ค. 65 และน้ำท่วมใหญ่ในปากีสถานจากปัญหาโลกร้อน สภาพอากาศแปรปรวน ทำให้ต้องหันกลับมามองการเตรียมรับมือน้ำท่วม โดยเฉพาะพื้นที่ลุ่มต่ำปลายน้ำอย่าง กทม.
การเมืองไทย โซ่ตรวนการศึกษา ?การปฏิรูปการศึกษาตามรัฐธรรมนูญปี 2560 ก็เป็นความคาดหวัง ท่ามกลางข้อกังวลต่ออนาคตการศึกษาทั้งจากผู้เรียนและผู้คนในแวดวงการศึกษา
คืนชีพ เมืองหนังสือย้อนกลับไปในปี 2556 กรุงเทพฯ ก็ได้รับคัดเลือกให้เป็นเมืองหนังสือโลกด้วย การจะเคลื่อนต่อให้สำเร็จ โจทย์ใหญ่และอุปสรรคคืออะไร
คิดใหม่ - ทลายข้อจำกัด สร้างระบบสุขภาพ กทม.แซนด์บ็อกซ์ โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ หรือ พื้นที่ทดลองปฏิรูประบบสุขภาพ กทม.ซึ่งผู้ว่าฯ กทม.ไปเปิดด้วยตัวเอง พร้อมประกาศเดินหน้าต่อ
One Health สร้างสมดุลสุขภาพ - เศรษฐกิจ APECตลอดสัปดาห์นี้ไทยยังจัดประชุมระดับรัฐมนตรีสาธารณสุข เอเปก ก่อนจะมีประชุมระดับผู้นำในเดือนพฤศจิกายน หนึ่งในวาระสำคัญคือการถอดบทเรียนจากการระบาดของโควิด-19 ที่ทุกประเทศเผชิญร่วมกัน
บทเรียน 8 ปี กับการปรับตัวภาคประชาชนจะดำรงตำแหน่งครบ 8 ปีแล้วหรือไม่ ยังต้องรอลุ้นคำวินิจฉัยจากศาลรัฐธรรมนูญค่ะ แต่ 8 ปี ของการเป็นนายกรัฐมนตรีของ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ทิ้งบทเรียนอะไรไว้ให้กับภาคประชาชนและปัญหาที่พวกเขาประสบอยู่บ้าง
หาคนจน - ลดเหลื่อมล้ำ ทางออกแก้จนสถานการณ์ที่ต้องเจอกับภาวะเงินเฟ้อ ของแพง มาตรการช่วยเหลือจากรัฐทั้งคนละครึ่ง และบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ อาจพอช่วยบรรเทาปัญหาได้บ้าง แต่ระยะยาวถ้าจะมุ่งแก้ปัญหาคนจน อาจต้องกลับไปมองที่ปัญหาความเหลื่อมล้ำ
#ล้างหนี้ กยศ. ทางออกลดเหลื่อมล้ำการศึกษา ?ล้างหนี้ กยศ. ปรากฎการณ์นี้ สร้างข้อถกเถียงในสังคม เพราะมีทั้งคนที่เห็นด้วย - เห็นต่าง แต่คำถามสำคัญคือ การมีอยู่ของกองทุน กยศ. เพียงพอต่อการแก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำ และเพิ่มโอกาสทางการศึกษาได้แค่ไหน
ความหวัง - ท้าทาย กฎหมายอุ้มหายกรณีของบิลลี่สะท้อนให้เห็นถึงข้อดีของการยกเรื่องคนหายขึ้นเป็นคดีพิเศษ แต่หากมีกฎหมายฉบับนี้ จะช่วยอุดช่องโหว่ ปัญหาการทรมานและอุ้มหาย แม้อนาคตของกฎหมายจะยังมีอุปสรรค
สร้างโอกาสชีวิตบั้นปลายพลิกปมข่าวได้นำเสนอ สถานการณ์เสี่ยงของสังคมสูงวัย ถ้าเป็นสูงวัยไร้บ้าน ไร้งาน ก็ยิ่งเปราะบางมากขึ้น การเปิดโอกาสให้คนสูงวัยได้มีงานทำตามศักยภาพ จึงเป็นทางเลือกสำคัญของการรับมือสังคมสูงวัย
"ธนาคารเวลา" รองรับสังคมสูงวัยสินค้าหลายตัวจ่อขยับขึ้นราคา การใช้ชีวิตคงไม่ง่ายนัก ถ้ายิ่งเป็นผู้สูงวัย ที่ไร้สวัสดิการใด ๆ ทำให้มีความพยายามผลักดัน การยกระดับศักยภาพคนสูงวัย
บูรณาการฐานข้อมูล จัดการน้ำท่วม กทม.นอกจากฝนตกหนัก และคาดการณ์ว่าปี 65 ปริมาณน้ำเฉลี่ยจะสูงกว่าปีก่อน ข้อจำกัดระบบระบายน้ำของ กทม.ที่ใช้งานได้จริงก็ไม่ถึง 50% คือโจทย์ใหญ่ปัญหาน้ำท่วม
ขนส่ง เข้าถึงยาก?เมื่อโครงข่ายนส่งมวลชนระบบรางทั้งหมดเสร็จในปี 2572 คำถามสำคัญคือ หากค่าโดยสารไม่สอดคล้องกับรายได้ประชาชน จะมีกี่คนที่ใช้บริการได้
บทบาทท้องถิ่นพิเศษ แก้เหลื่อมล้ำการศึกษาพบข้อมูลที่น่าตกใจว่า กทม.พบเด็กที่เสี่ยงหลุดระบบการศึกษามากที่สุด กลไกท้องถิ่นพิเศษ อย่าง สภา กทม. จะมีบทบาทเข้ามาช่วยแก้ปัญหาเด็กหลุดระบบการศึกษา และผลักดันงบฯการศึกษาให้เด็กได้แค่ไหน
เรียนฟรีไม่จริง เสี่ยงหลุดระบบการศึกษาแม้จะมีนโยบายเรียนฟรีและ ครม.เตรียมจะอุดหนุนเพิ่มเติมอีกในปีงบประมาณ 2566 แต่ภาวะค่าครองชีพและ สถานการณ์โควิด-19 ก็ทำให้เด็ก ๆ หลายคนยังคงเสี่ยงหลุดระบบการศึกษา
กฎหมายชาติพันธุ์ สิทธิคนเท่ากัน9 ส.ค.ของทุกปี เป็นวันชนเผ่าพื้นเมืองโลก และเป็นวันชนเผ่าพื้นเมืองแห่งประเทศไทย เพื่อย้ำเตือนว่ายังมีผู้คนอีกไม่น้อย ที่มีเอกลักษณ์วัฒนธรรม และวิถีชีวิตของตนเอง
เตือนภัยครบวงจร รับมือน้ำท่วม กทม.กทม.ยังมีข้อจำกัดเรื่องการระบายน้ำ การเตือนภัยแบบครบวงจรเพื่อวางแผนชีวิตประจำวันของคน กทม.จึงเป็นสิ่งที่ ผู้บริหาร กทม.หวังให้เกิดขึ้นเวลานี้
ไร้สถานะ ไร้สิทธิ์สุขภาพในเมืองใหญ่ชวนดูเรื่องราวหญิงวัย 68 ปี ในพื้นที่กรุงเทพฯ ที่ยังไม่มีบัตรประชาชน ทำให้เธอไม่สามารถใช้สิทธิรักษาพยาบาลได้ โดยเฉพาะเมื่อได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด-19
กระจายอำนาจสภาพลเมืองภูเก็ต หัวใจ(ขอ)จัดการตัวเอง EP.2จ.ภูเก็ต เป็นหนึ่งในเมืองที่อยู่ในรายงานศึกษาจังหวัดจัดการตนเอง ที่อาจนำร่องเลือกตั้งผู้ว่าราชการจังหวัด ซึ่งคณะกรรมาธิการการกระจายอำนาจฯ สภาผู้แทนราษฎรเตรียมสรุปเสนอรัฐบาลเร็ว ๆ นี้
ปัญหาข้อพิพาทที่ดินกลุ่มชาติพันธุ์ จ.เพชรบุรี12 ปีหลัง ครม. 3 สิงหาคม 53 มีมติ เรื่องแนวทางฟื้นฟูวิถีชีวิตชาวกะเหรี่ยง แต่จนถึงวันนี้ ดูเหมือนเรื่องราวของกลุ่มชาติพันธุ์ในไทย ยังคงเผชิญกับปัญหา
ละอองฟอง - Superbaker วงดนตรี 2 วง ที่มีแนวเพลงสุดมีเอกลักษณ์ นอกจากความคุ้นเคยแล้ว เส้นทางดนตรีของพวกเขายังมีจุดร่วม อย่างการได้ออกแสดงในเวทีเดียวกันอีกด้วย
ฟิล์ม บงกช, ต้น ธนษิต และ จิ๋ว ปิยนุช สามนักร้องดังที่แจ้งเกิดจาก 3 เวทีประกวด ก้าวสู่การเป็นศิลปินมืออาชีพ ที่เป็นที่รู้จักในวงการบันเทิงไทย กว่าจะมีวันนี้ เส้นทางของพวกเขาเป็นอย่างไร มาดูกัน
การกลับมาของ Linkin Park พร้อมกับนักร้องนำคนใหม่อย่าง Emily Armstrong สร้างความฮือฮาในกลุ่มแฟนเพลงของ Linkin Park อย่างมาก สำหรับแฟนเพลงแล้ว เธอไม่ได้มาแทนที่ Chester Bennington แต่เธอคือตัวเลือกที่ดีที่เข้ามาเสริมทัพให้กับก้าวใหม่ที่ต้องไปต่อ ของวงร็อกในตำนานวงนี้
เรื่องราวของอดีตนักกีฬาหญิงวินเซิร์ฟ สู่การเป็นผู้ที่อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมท้องทะเล และหมอฟันวัย 57 ปี แชมป์เหรียญทองนักกีฬาโพลแดนซ์ ต่อกันด้วยสำรับตำรับยายกับเมนู "จุ๊บดอกมะละกอ" เป็นอาหารรสจัดของชาวไทยทรงดํา
เรื่องราวของสองวงดนตรีที่ความหมายของการเล่นดนตรี กลับไม่ใช่แค่การมีเพลงที่โด่งดังและมีชื่อเสียงเพียงอย่างเดียว พบกับเส้นทางดนตรีของ Superbaker และ ละอองฟอง
รู้ลึกอย่างรอบด้านและเท่าทันทุกเหตุการณ์สำคัญในรายการข่าวค่ำ ออกอากาศวันจันทร์ - ศุกร์ เวลา 18.50 - 20.30 น. และ เสาร์ - อาทิตย์ เวลา 18.02 - 20.15 น. ทางไทยพีบีเอส
ในภาวะเศรษฐกิจแบบนี้เชื่อว่าทุกพื้นที่อยากให้เศรษฐกิจดีขึ้น บนโจทย์ของภาคเหนือที่กําลังจะมี NEC ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคเหนือ จะดีขึ้นได้จริง ๆ หรือไม่และดีอย่างไร ดีบนฐานทรัพยากรและทุนทางธรรมชาติทุนทางวัฒนธรรมที่ภาคเหนือมีได้หรือเปล่า
พาออกเดินทางตามหามิตรภาพที่หลากหลายใน “เมืองขอนแก่น” อีกหนึ่งเมืองในภาพอีสานที่มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งยังเป็นศูนย์รวมการแพทย์และการศึกษา
การที่มีกระแสว่าในยุคนี้ คนทำงานวัย GEN Z ไม่สามารถมีเงินเก็บได้ จนทำให้คน GEN นี้มีหนี้สินส่วนบุคคลในตัวเลขที่สูงมากขึ้น แล้วเพราะอะไรถึงทำให้คนเหล่านี้ทำงานแต่มีเงินไม่พอใช้จ่ายในชีวิตประจำวัน
ชวนไปชิมขนมหมี่สิ แบบชาวกะเหรี่ยงแท้ๆ ในรายการลุยไม่รู้โรย ชมย้อนหลังได้ทาง www.thaipbs.or.th/program/Lui/episodes/94169
พบกับประเด็น...ถอดนัยผลเลือกตั้งสหรัฐฯ ต่อการเมืองระหว่างประเทศ..."แฮร์ริส" ลงพื้นที่รัฐมิชิแกนหวังโกยคะแนนอาหรับ - อเมริกัน
ไทยพีบีเอสส่งทีมข่าวลงพื้นที่ในเมืองเอล ปาโซ ศูนย์กลางผู้อพยพ และเมืองเดียร์บอนศูนย์กลางของกลุ่มเคลื่อนไหวต่อต้านสงคราม ส่องปัจจัยชี้ขาด #ทรัมป์ #แฮร์ริส
พาไปดูเบื้องหลังกองถ่ายรายการยินดีที่ได้รู้จัก กับความสนุกสนานและการทำงานที่ต้องแข่งกับเวลา และสภาพอากาศ มาลุ้นกันว่าพวกเขาจะเจอกับอะไรกันบ้าง
พาออกตามหาเพื่อนใหม่ที่ย่าน "สายไหม" ครั้งนี้ได้พบกับเรื่องราวชีวิตที่ต้องสู้เพื่อปากท้อง และความน่ารักจากแม่ค้าของฝากอย่าง "พี่ตาล" ที่เปอร์-สุวิกรม ขอจีบกลางรายการ เรื่องราวจะเป็นอย่างไร
วันนี้พามาเรียนรู้การจัดการขยะกันที่ชุมชนคลองลัดภาชี เขตภาษีเจริญ กทม. กับคุณอดุล สัตบุตร ผู้ก่อตั้งธนาคารขยะ ถึงแนวคิดที่ตั้งใจจะให้ชุมชนเป็นต้นแบบการแยกขยะในครัวเรือนตามประเภท สู่การแยกขยะในชุมชนเพื่อสุขภาวะ และชุมชนที่ดี นอกจากนี้ในชุมชนยังมีธนาคารขยะ ที่จะรับซื้อขยะรีไซเคิล และจำหน่ายภายในชุมชน รวมถึงชุมชนใกล้เคียงทุกวัน เพื่อสุขภาวะที่ดีในชุมชน
ความสุขถือว่าเป็นสิ่งที่ทุกคนอยากมี ซึ่ง อาจารย์ทัศยา เรื่องศรี นักจิตบำบัด จะมาสอนวิธีทำให้มีความสุขกันง่าย ๆ โดยเริ่มจากการคิดว่าสิ่งที่เกิดต่าง ๆ ในชีวิตเราถ้าสิ่งนั้นดีกว่า หรือเท่าความคาดหวังของเรา เราก็จะมีความสุข แต่ถ้าเมื่อไหร่ที่ไม่เป็นไปตามที่คาดหวังก็จะไม่มีความสุข ซึ่งถ้าเราอยากจะมีความสุขก็จะต้องเริ่มที่ตัวเราเองว่าสามารถทำอะไรได้บ้าง โดยเริ่มจากการฝึกสมาธิให้อยู่กับปัจจุบัน ไม่คาดหวังกับสิ่งต่าง ๆ ในชีวิต นอกเหนือจากนี้เราก็จะต้องดูแลร่างกายให้แข็งแรง ถ้าร่างกายแข็งแรงเราก็จะมีความสุขมากขึ้น
ระดับน้ำตาลในเลือดที่สูงจะเกี่ยวข้องกับการทำงานของสมอง ดังนั้นถ้าระดับน้ำตาลในเลือดสูงสมองก็จะเกิดการเสื่อม การควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดจึงเป็นสิ่งสำคัญ ติดตามความรู้จาก ผศ. ดร.เอกราช บำรุงพืชน์ อาจารย์ประจำวิทยาลัยการแพทย์บูรณาการ จะมาแนะนำสมุนไพรที่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ จำพวก ตำลึง กระเจี๊ยบเขียว และกะเพรา
เรียนรู้เกี่ยวกับเรื่องสมุนไพรในบ้านช่วยลดน้ำตาลในเลือด ต่อกันด้วยธนาคารขยะ กองทุนขยะปันสุข และอยากมีความสุขควรทำอย่างไร
เกิดเหตุไม่คาดฝันเมื่อ “บอย” คนไข้ที่ ตลอดกาล ศัยลแพทย์หัวใจและทรวงอกฝีมือดีเคยช่วยชีวิตไว้ก่อเหตุใช้มีดแทง อลินไอดอลสาวชื่อดังอย่างโหดเหี้ยม
โทนี่ รากแก่น และณัฏฐ์ ทิวไผ่งาม จะมาบอกเล่าถึงฉาก ER Thoracotomy ฉากเริ่มต้นที่เห็นตั้งแต่ตอนแรก ว่าจะยากหรือง่าย และท้าทายความสามารถของพวกเขาอย่างไร
ชวนคุยประเด็นร้อน...เลื่อนโหวต "เพิ่มผู้บริหารแผนฟื้นฟูฯ การบินไทย" เป็น 29 พ.ย. 67 ส่วนเลือกตั้งบอร์ดแบงก์ชาติยังต้องลุ้น หลายฝ่ายหวั่นรัฐแทรกแซง ขณะที่ กมธ.ความมั่นคง เชิญผู้บริหาร รพ.ตำรวจ ชี้แจง "กรณีทักษิณรักษาตัวชั้น 14" แล้วเกาะกูดจะจบอย่างไร ? ด้านบิ๊กป้อมสั่งลุย "ยกเลิก MOU เกาะกูด"
กรณีกระแสวิพากษ์วิจารณ์ MOU44 ระหว่างไทย-กัมพูชา อาจทำให้ไทยเสียดินแดนทางทะเลหรือไม่ ซึ่งล่าสุด น.ส.แพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี เตรียมตั้งทีม JTC เพื่อเจรจา โดยคาดว่าจะมีความชัดเจนกลางเดือน พ.ย.นี้นั้น ทำไมกรณี MOU44 ยิ่งมีคนออกมาแสดงความคิดเห็นมากเท่าใด ยิ่งดีกับประเทศไทย ฟังวิเคราะห์จาก สุทธิชัย หยุ่น, อาจารย์วีระ ธีรภัทร และวิสุทธิ์ คมวัชรพงศ์
รายการสถานีประชาชน ไทยพีบีเอส ร่วมกับ กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์, สำนักงานตำรวจแห่งชาติ, สมาคมผู้ผลิตข่าวออนไลน์ และ บริษัท เทลสกอร์ จำกัด จัดรายการพิเศษ “Cyber Booster สร้างภูมิสู้ภัยไซเบอร์” พบกับการรวมตัวกันของ 8 ฮีโร่ทีม Cyber Booster
เปิดเบื้องหลังกว่าจะเป็น “มุกตลก” ในหนังพากย์ไทย คุยกับตำนาน “คนขายเสียง” ที่ยังมีลมหายใจ “ทีมพากย์พันธมิตร” ปริภัณฑ์ วัชรานนท์ (โต๊ะ พันธมิตร) หัวหน้าทีมพากย์พันธมิตร, เกรียงศักดิ์ เหรียญทอง (เกรียง พันธมิตร) และ สุภาพ ไชยวิสุทธิกุล (ติ่ง พันธมิตร)
เปิดชีวิตที่เกือบเอาตัวไม่รอดของนักพากษ์ระดับตำนาน "ทีมพันธมิตร" ทั้ง ปริภัณฑ์ วัชรานนท์ (โต๊ะ พันธมิตร) หัวหน้าทีมพากย์พันธมิตร, เกรียงศักดิ์ เหรียญทอง (เกรียง พันธมิตร) และ สุภาพ ไชยวิสุทธิกุล (ติ่ง พันธมิตร) กับเส้นทางกว่าจะประสบความสำเร็จจนเป็นที่ยอมรับ และการปรับตัวท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงของยุคสมัย
สายบินสัญชาติจีน มีราคาค่าโดยสารที่ถูกลง ทั้งที่เป็นสายการบินต่างชาติ จึงเกิดคำถามว่า เพราะอะไร สายการบินจีนจึงสามารถทำราคาตั๋วเครื่องบินได้ถูกว่าสายการบินสัญชาติอื่น ทั้งที่ราคาเชื้อเพลิง ก็ไม่ได้แตกต่างกันมากนัก
ย้อนฟังที่มาของมัสมั่น ในรายการในรอยรส ชมย้อนหลังได้ทาง www.thaipbs.or.th/program/TasteDetective/episodes/104232
พูดคุยกับ นายกษิต ภิรมย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ถึงการช่วงชิงคะแนนเสียงช่วงโค้งสุดท้ายระหว่าง "ทรัมป์" กับ "แฮร์ริส" จับตารัฐสมรภูมิสำคัญหรือสวิงสเตท ซึ่งชี้ชะตาการเลือกตั้งสหรัฐฯ และผลสะเทือนต่อเกมการเมืองโลก
นำเสนอความหลากหลายในศิลปะและวัฒนธรรม ถ่ายทอดเรื่องราว อุดมการณ์ จิตวิญญาณ ความมุ่งมั่นและตัวตนที่เป็นสุดยอดในศิลปะและวัฒนธรรมที่หลากหลาย
วัฒนธรรม ประเพณีที่ดีงาม ถูกสร้างขึ้นตั้งแต่บรรพบุรุษ และได้สืบต่อมาจนถึงปัจจุบัน นั่นคือ "ทุนทางวัฒนธรรม"
สรรค์สร้างความรู้ ศิลปะ วัฒนธรรม ดนตรี ออกเดินทางไปทั่วประเทศเพื่อถ่ายทอดเรื่องราวต่าง ๆ จากทุกภูมิภาค
สารคดีค้นหาเรื่องราวคนบนแผ่นดินที่เรียกว่าประเทศไทยในปัจจุบัน ตั้งแต่ประวัติศาสตร์ โบราณคดี วัฒนธรรม ภาษา ไปจนถึงในระดับพันธุกรรม DNA นำไปสู่ข้อมูลความรู้หลักฐานใหม่เพื่อตอบคำถามว่า "คนไทยคือใคร มาจากไหน" สารคดีเธอ เขา เรา ใคร สำรวจคนไทยในแผ่นดิน ออกอากาศทุกวันเสาร์ - อาทิตย์ เวลา 21.10 - 22.00 น. ทางไทยพีบีเอส