เป้าหมายสำคัญที่จะป้องกันไม่ให้เกิดมหาอุทกภัยในพื้นที่ลุ่มเจ้าพระยาตอนล่าง คือทำให้น้ำในแม่น้ำเจ้าพระยาที่ไหลผ่านสถานีบางไทร ไม่เกิน 3,000 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที
ทางผันน้ำที่สำคัญ คือการใช้คลองระพีพัฒน์ ตัดยอดน้ำจากแม่น้ำป่าสัก ก่อนที่มวลน้ำจะไหลรวมกับแม่น้ำเจ้าพระยา แต่เส้นทางนี้ล้วนเต็มไปด้วยอุปสรรค ทั้งคันกั้นน้ำที่พัง การมีภูมิประเทศเป็นแอ่งกระทะ และที่สำคัญ กรุงเทพฯ ฝั่งตะวันออก ยังคงมีน้ำท่วมขัง เส้นทางผันน้ำจากสระบุรีถึงอ่าวไทย เพื่อไม่ให้เกิดวิกฤตน้ำในลุ่มเจ้าพระยาตอนล่าง จะต้องทำอย่างไร ?
ติดตามชมได้ในรายการรู้สู้ภัย วันเสาร์ที่ 1 ตุลาคม 2565 เวลา 11.00 - 11.30 น. ทางไทยพีบีเอส รับชมออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live
เป้าหมายสำคัญที่จะป้องกันไม่ให้เกิดมหาอุทกภัยในพื้นที่ลุ่มเจ้าพระยาตอนล่าง คือทำให้น้ำในแม่น้ำเจ้าพระยาที่ไหลผ่านสถานีบางไทร ไม่เกิน 3,000 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที
ทางผันน้ำที่สำคัญ คือการใช้คลองระพีพัฒน์ ตัดยอดน้ำจากแม่น้ำป่าสัก ก่อนที่มวลน้ำจะไหลรวมกับแม่น้ำเจ้าพระยา แต่เส้นทางนี้ล้วนเต็มไปด้วยอุปสรรค ทั้งคันกั้นน้ำที่พัง การมีภูมิประเทศเป็นแอ่งกระทะ และที่สำคัญ กรุงเทพฯ ฝั่งตะวันออก ยังคงมีน้ำท่วมขัง เส้นทางผันน้ำจากสระบุรีถึงอ่าวไทย เพื่อไม่ให้เกิดวิกฤตน้ำในลุ่มเจ้าพระยาตอนล่าง จะต้องทำอย่างไร ?
ติดตามชมได้ในรายการรู้สู้ภัย วันเสาร์ที่ 1 ตุลาคม 2565 เวลา 11.00 - 11.30 น. ทางไทยพีบีเอส รับชมออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live