ในประเทศไทยไก่ชนพื้นบ้านหลากที่มา ถูกนำมาอนุรักษ์สายพันธุ์ไว้โดยกลุ่มคนรุ่นใหม่ ซึ่งพวกมันต่างมีเรื่องราวผูกพันกับเหล่าบรรพบุรุษของไทยมาช้านาน โดยเฉพาะชาวพิษณุโลกรุ่นใหม่ที่มีใจรักในไก่ชนสายพันธุ์ของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชได้ศึกษาถึงไก่ชนสายพันธุ์นี้ตามที่ตำราโบราณได้บันทึกไว้และตั้งเป้าหมายในเรื่องการอนุรักษ์สายพันธุ์ดั้งเดิมของไก่พื้นบ้านให้คงอยู่
ในขณะที่ในประเทศเมียนมา ไก่ชนยังคงเลี้ยงไว้เพื่อแข่งขันในเกมกีฬาพื้นบ้าน เป็นอีกแนวทางหนึ่งที่ช่วยอนุรักษ์สายพันธุ์ไก่พื้นเมืองไม่ให้สูญหายไปจากสังคมปัจจุบันที่เน้นสัตว์ปีกอย่างไก่เพื่อการบริโภคเท่านั้น นอกจากนี้ยังมีความเชื่อที่ว่าก่อนนำไก่ชนลงสนามแข่ง ชาวบ้านมักมาบนบานต่อนัตแห่งการพนัน "โกจีจ่อ" (Ko Gyi Kyaw) เพื่อขอให้ไก่ของตนได้รับชัยชนะ ซึ่ง "โกจีจ่อ" ถือเป็นหนึ่งใน 37 นัตสำคัญ และเป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งของไก่ชนเมียนมา
ติดตามชมรายการ Spirit of Asia ตอน ไก่ชนไทยเมียนมา ...นักสู้คู่ปรับ วันอาทิตย์ที่ 18 มิถุนายน 2560 เวลา 16.30 – 17.00 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมผ่านทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/live
ในประเทศไทยไก่ชนพื้นบ้านหลากที่มา ถูกนำมาอนุรักษ์สายพันธุ์ไว้โดยกลุ่มคนรุ่นใหม่ ซึ่งพวกมันต่างมีเรื่องราวผูกพันกับเหล่าบรรพบุรุษของไทยมาช้านาน โดยเฉพาะชาวพิษณุโลกรุ่นใหม่ที่มีใจรักในไก่ชนสายพันธุ์ของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชได้ศึกษาถึงไก่ชนสายพันธุ์นี้ตามที่ตำราโบราณได้บันทึกไว้และตั้งเป้าหมายในเรื่องการอนุรักษ์สายพันธุ์ดั้งเดิมของไก่พื้นบ้านให้คงอยู่
ในขณะที่ในประเทศเมียนมา ไก่ชนยังคงเลี้ยงไว้เพื่อแข่งขันในเกมกีฬาพื้นบ้าน เป็นอีกแนวทางหนึ่งที่ช่วยอนุรักษ์สายพันธุ์ไก่พื้นเมืองไม่ให้สูญหายไปจากสังคมปัจจุบันที่เน้นสัตว์ปีกอย่างไก่เพื่อการบริโภคเท่านั้น นอกจากนี้ยังมีความเชื่อที่ว่าก่อนนำไก่ชนลงสนามแข่ง ชาวบ้านมักมาบนบานต่อนัตแห่งการพนัน "โกจีจ่อ" (Ko Gyi Kyaw) เพื่อขอให้ไก่ของตนได้รับชัยชนะ ซึ่ง "โกจีจ่อ" ถือเป็นหนึ่งใน 37 นัตสำคัญ และเป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งของไก่ชนเมียนมา
ติดตามชมรายการ Spirit of Asia ตอน ไก่ชนไทยเมียนมา ...นักสู้คู่ปรับ วันอาทิตย์ที่ 18 มิถุนายน 2560 เวลา 16.30 – 17.00 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมผ่านทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/live