ในประเทศไทยสามารถแบ่งชาวเนปาลออกเป็น 3 กลุ่มใหญ่ ๆ กลุ่มแรกคือชาวเนปาลที่มาจากประเทศเนปาลโดยตรง กลุ่มที่ 2 คือชาวเนปาลจากเมียนมา ถือสัญชาติเมียนมา เข้ามาในไทยเพื่อทำงาน และกลุ่มสุดท้ายคือ ชาวเนปาลที่อยู่มานานจนได้รับสัญชาติไทยแล้ว อย่างไรก็ตามพวกเขานั้นมาจากรากเดียวกัน แต่กลับแตกแขนงออกไปทำอาชีพในสาขาต่าง ๆ ทั้งทำร้านอาหาร ร้านตัดสูท หรือแม้แต่พ่อครัว ซึ่งแต่ละคนก็มีความเชื่อมโยงและมีสายสัมพันธ์ในลักษณะของการพึ่งพาอาศัย
นอกจากนี้ที่ชุมชนชาวไทยเชื้อสายเนปาลยังมีเรื่องเล่าที่เชื่อมโยงกับเหตุการณ์ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อทหารอังกฤษได้เกณฑ์ทหารกูรข่าจากเนปาลมารบในเมียนมา จนเมื่อสงครามสิ้นสุดลง ชาวกูรข่าบางพวกก็ไม่ได้กลับไปยังบ้านเกิด แต่ปักหลักในฝั่งเมียนมา และมีจำนวนไม่น้อยที่เข้ามาเป็นกรรมกรเหมืองแร่ที่ อ.ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี จนเกิดเป็นการสืบสายเลือดของทายาทแดนหิมาลัยจวบจนปัจจุบัน พวกเขายังคงรักษาวัฒนธรรมของเนปาลในชีวิตประจำวันไว้ได้อย่างเหนียวแน่น และสืบสานต่อถึงคนรุ่นใหม่ต่อไป
ติดตามเรื่องราวของพวกเขาได้ใน Spirit of Asia ซีรีส์ชุดวิถีความสุขใต้ฟ้าเมืองไทย ตอน ทายาทแดนหิมาลัยใต้ฟ้าเมืองไทย วันอาทิตย์ที่ 19 ก.ค. 63 เวลา 16.30 น. ทางไทยพีบีเอส รับชมออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live และสามารถรับชมภาคภาษาอังกฤษได้ทาง www.youtube.com/ThaiPBS
The Nepalese population in Thailand fall into three large categories: The first category are the Nepalese who arrived directly from Nepal. Most of the members of this category operate businesses in Thailand. The second category are the Nepalese who arrived here from Myanmar. They hold Myanmar citizenship, and came to Thailand to seek work. And the last category are the Nepalese who have lived here for generations, and hold Thai citizenship. Regardless of their background, they all come from the same Nepalese roots. They have branched out into different professions, ranging from the restaurant business to suit-making services and even the chef profession. Individuals from the different profession are connected to each other within their own support networks.
The Thai Nepalese community have historical connections with the events of the Second World War, when the Nepalese Gurkha soldiers were recruited into the British armed forces to go to battle in Myanmar. After the war ended, some groups of Gurkhas did not return home, but settled in Myanmar. Many crossed over the Thai border to work as labourers in the mines of Thong Pa Poom District in Kanchanaburi Province. From these Gurkha settlers, the line of Himalayan descendants remains strong to this day. These descendants still preserve the Nepalese traditions in their everyday lives, and continue to pass on these traditions to the younger generations.
ในประเทศไทยสามารถแบ่งชาวเนปาลออกเป็น 3 กลุ่มใหญ่ ๆ กลุ่มแรกคือชาวเนปาลที่มาจากประเทศเนปาลโดยตรง กลุ่มที่ 2 คือชาวเนปาลจากเมียนมา ถือสัญชาติเมียนมา เข้ามาในไทยเพื่อทำงาน และกลุ่มสุดท้ายคือ ชาวเนปาลที่อยู่มานานจนได้รับสัญชาติไทยแล้ว อย่างไรก็ตามพวกเขานั้นมาจากรากเดียวกัน แต่กลับแตกแขนงออกไปทำอาชีพในสาขาต่าง ๆ ทั้งทำร้านอาหาร ร้านตัดสูท หรือแม้แต่พ่อครัว ซึ่งแต่ละคนก็มีความเชื่อมโยงและมีสายสัมพันธ์ในลักษณะของการพึ่งพาอาศัย
นอกจากนี้ที่ชุมชนชาวไทยเชื้อสายเนปาลยังมีเรื่องเล่าที่เชื่อมโยงกับเหตุการณ์ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อทหารอังกฤษได้เกณฑ์ทหารกูรข่าจากเนปาลมารบในเมียนมา จนเมื่อสงครามสิ้นสุดลง ชาวกูรข่าบางพวกก็ไม่ได้กลับไปยังบ้านเกิด แต่ปักหลักในฝั่งเมียนมา และมีจำนวนไม่น้อยที่เข้ามาเป็นกรรมกรเหมืองแร่ที่ อ.ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี จนเกิดเป็นการสืบสายเลือดของทายาทแดนหิมาลัยจวบจนปัจจุบัน พวกเขายังคงรักษาวัฒนธรรมของเนปาลในชีวิตประจำวันไว้ได้อย่างเหนียวแน่น และสืบสานต่อถึงคนรุ่นใหม่ต่อไป
ติดตามเรื่องราวของพวกเขาได้ใน Spirit of Asia ซีรีส์ชุดวิถีความสุขใต้ฟ้าเมืองไทย ตอน ทายาทแดนหิมาลัยใต้ฟ้าเมืองไทย วันอาทิตย์ที่ 19 ก.ค. 63 เวลา 16.30 น. ทางไทยพีบีเอส รับชมออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live และสามารถรับชมภาคภาษาอังกฤษได้ทาง www.youtube.com/ThaiPBS
The Nepalese population in Thailand fall into three large categories: The first category are the Nepalese who arrived directly from Nepal. Most of the members of this category operate businesses in Thailand. The second category are the Nepalese who arrived here from Myanmar. They hold Myanmar citizenship, and came to Thailand to seek work. And the last category are the Nepalese who have lived here for generations, and hold Thai citizenship. Regardless of their background, they all come from the same Nepalese roots. They have branched out into different professions, ranging from the restaurant business to suit-making services and even the chef profession. Individuals from the different profession are connected to each other within their own support networks.
The Thai Nepalese community have historical connections with the events of the Second World War, when the Nepalese Gurkha soldiers were recruited into the British armed forces to go to battle in Myanmar. After the war ended, some groups of Gurkhas did not return home, but settled in Myanmar. Many crossed over the Thai border to work as labourers in the mines of Thong Pa Poom District in Kanchanaburi Province. From these Gurkha settlers, the line of Himalayan descendants remains strong to this day. These descendants still preserve the Nepalese traditions in their everyday lives, and continue to pass on these traditions to the younger generations.