เขื่อนราษีไศล ก่อสร้างโดยการอนุมัติของคณะรัฐมนตรี เมื่อปี พ.ศ. 2532 ให้ก่อสร้างเขื่อนปิดกั้นแม่น้ำมูลที่บริเวณบ้านห้วย อ.ราษีไศล จ.ศรีสะเกษ เดิมวางแผนเป็นฝายยางเก็บน้ำไม่เกินตลิ่ง แต่เวลาต่อมาได้ก่อสร้างเป็นเขื่อนคอนกรีตเสริมเหล็กแทน เริ่มเก็บกักน้ำ ในปี พ.ศ.2536
มีการต่อสู้ของชาวบ้านอาจเป็นเพียงส่วนหนึ่งที่จะยืนยันผลกระทบของการพัฒนาที่ขาดการมีส่วนร่วม แต่เมื่อมีเขื่อนแล้ว การมองไปข้างหน้าถึงความพยายามปรับตัว เอาตัวรอด และจัดการน้ำในพื้นที่ขนาดเล็ก น่าจะเป็นอีกรูปธรรมของชาวบ้าน เพราะชาวบ้านในพื้นที่ติดเขื่อนราษีไศลเอง ไม่สามารถใช้ประโยชน์จากเขื่อนให้สอดคล้องกับวิถีชุมชนได้
ติดตามชมรายการฟังเสียงประเทศไทย ตอน คนจัดการน้ำ โคก หนอง นา ทาม โมเดล วันเสาร์ที่ 16 พฤศจิกายน เวลา 17.30 - 18.00 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/live
เขื่อนราษีไศล ก่อสร้างโดยการอนุมัติของคณะรัฐมนตรี เมื่อปี พ.ศ. 2532 ให้ก่อสร้างเขื่อนปิดกั้นแม่น้ำมูลที่บริเวณบ้านห้วย อ.ราษีไศล จ.ศรีสะเกษ เดิมวางแผนเป็นฝายยางเก็บน้ำไม่เกินตลิ่ง แต่เวลาต่อมาได้ก่อสร้างเป็นเขื่อนคอนกรีตเสริมเหล็กแทน เริ่มเก็บกักน้ำ ในปี พ.ศ.2536
มีการต่อสู้ของชาวบ้านอาจเป็นเพียงส่วนหนึ่งที่จะยืนยันผลกระทบของการพัฒนาที่ขาดการมีส่วนร่วม แต่เมื่อมีเขื่อนแล้ว การมองไปข้างหน้าถึงความพยายามปรับตัว เอาตัวรอด และจัดการน้ำในพื้นที่ขนาดเล็ก น่าจะเป็นอีกรูปธรรมของชาวบ้าน เพราะชาวบ้านในพื้นที่ติดเขื่อนราษีไศลเอง ไม่สามารถใช้ประโยชน์จากเขื่อนให้สอดคล้องกับวิถีชุมชนได้
ติดตามชมรายการฟังเสียงประเทศไทย ตอน คนจัดการน้ำ โคก หนอง นา ทาม โมเดล วันเสาร์ที่ 16 พฤศจิกายน เวลา 17.30 - 18.00 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/live