การรับประทานผักผลไม้เป็นสิ่งที่ดีต่อสุขภาพและควรทำเป็นประจำ อย่างไรก็ตามในยุคที่ผู้คนหันมาดูแลสุขภาพด้วยการรับประทานผักและผลไม้มากขึ้น หลายคนอาจยังไม่ทราบว่าในผักผลไม้นั้นมีสารบางชนิดที่อาจส่งผลต่อสุขภาพได้ หนึ่งในนั้นคือ "ออกซาเลต" (Oxalate) ซึ่งเป็นสารที่พืชสร้างขึ้นเองตามธรรมชาติ แล้วสารนี้อันตรายแค่ไหน? และเราควรรับประทานผักผลไม้อย่างไรให้ปลอดภัย? มาหาคำตอบกัน
ออกซาเลต เป็นสารในกลุ่ม "แอนตินิวเทรียนท์" (Antinutrient) หรืออาจเรียกง่าย ๆ ว่า "สารต้านสารอาหาร" หรือ "สารแย่งวิตามิน" ที่พืชสร้างขึ้นตามธรรมชาติ
พืชสร้างออกซาเลตเพื่อวัตถุประสงค์สำคัญคือ
เมื่อมนุษย์รับประทานพืชที่มีออกซาเลตสูง สารนี้จะเข้าสู่ร่างกายและอาจส่งผลกระทบต่อการดูดซึมสารอาหารบางชนิด
นอกจากออกซาเลตแล้ว ยังมีสารแอนตินิวเทรียนท์อื่นๆ ที่พบได้ในอาหารประจำวัน เช่น
อาหารที่อุดมไปด้วยออกซาเลตมักเป็นผักและถั่วหลายชนิด ได้แก่
การรับประทานอาหารที่มีออกซาเลตสูงเป็นประจำอาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพ ดังนี้
ความเสี่ยงหลักของออกซาเลตคือการทำให้เกิดนิ่ว โดยเฉพาะนิ่วชนิดแคลเซียมออกซาเลต โดยจะเกิดอันตรายมากขึ้นในกรณีต่อไปนี้
ออกซาเลตสามารถจับกับแร่ธาตุบางชนิด เช่น แคลเซียม ทำให้การดูดซึมแร่ธาตุเหล่านั้นลดลง ซึ่งอาจส่งผลต่อสุขภาพในระยะยาว
มีปรากฏการณ์ที่เรียกว่า "Oxalate Dumping" หรือ "ออกซาเลตโดนเท" เกิดขึ้นเมื่อคนที่เคยรับประทานผักที่มีออกซาเลตสูงเป็นประจำ แล้วหยุดรับประทานอย่างกะทันหัน ทำให้เกิดอาการต่าง ๆ เช่น
อย่างไรก็ตาม ข่าวดีคือ อาการเหล่านี้มักหายไปได้เองตามธรรมชาติ และไม่รุนแรงถึงขั้นทำให้เกิดอาการแพ้รุนแรงหรือช็อกหายใจไม่ออก
จากการศึกษาวิจัย พบว่าปริมาณออกซาเลตที่อาจเริ่มส่งผลต่อสุขภาพมีดังนี้
โดยสรุป เราไม่ควรรับประทานผักดิบที่มีออกซาเลตสูงทั้ง 3 มื้อต่อวัน ควรสลับกับผักสุกหรือผักชนิดอื่น ๆ บ้าง
หากคุณชอบรับประทานผักและถั่วที่มีออกซาเลตสูง แต่ต้องการลดความเสี่ยง มีวิธีปฏิบัติดังนี้
การปรุงอาหารด้วยความร้อนจะช่วยลดปริมาณออกซาเลตได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การดื่มน้ำมาก ๆ โดยเฉพาะเมื่อรับประทานอาหารที่มีออกซาเลตสูง จะช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดนิ่ว
วิตามินซีมากกว่า 1,000 มิลลิกรัมต่อวัน เมื่อรับประทานร่วมกับผักที่มีออกซาเลตสูง จะเพิ่มความเสี่ยงในการเกิดนิ่วชนิดแคลเซียมออกซาเลต
สำหรับบางกลุ่มคนที่มีความเสี่ยงสูง ควรระมัดระวังเป็นพิเศษ
แม้ผู้ป่วยโรคไตจะต้องระมัดระวังเรื่องอาหารมากกว่าคนทั่วไป แต่ก็ไม่จำเป็นต้องงดผักที่มีออกซาเลตโดยสิ้นเชิง เพียงแต่
ออกซาเลตไม่ได้อันตรายถึงขั้นที่ต้องเลิกรับประทานผักและถั่วโดยสิ้นเชิง แต่ควรรับประทานอย่างพอดีและถูกวิธี ดังนี้
ไม่มีอาหารชนิดใดที่ต้องหลีกเลี่ยง 100% ตราบใดที่รับประทานอย่างพอดีและถูกวิธี ร่างกายมนุษย์มีกลไกการกำจัดสารพิษตามธรรมชาติ เพียงแต่เราต้องไม่รับประทานในปริมาณที่มากเกินไปจนร่างกายรับมือไม่ไหว
การรับประทานอาหารที่หลากหลาย ครบทั้ง 5 หมู่ และปรุงอย่างถูกวิธี ยังคงเป็นหลักการที่ดีที่สุดสำหรับการมีสุขภาพที่ดี
ชมย้อนหลังรายการ "วันใหม่วาไรตี้" ในช่วง "รู้ทันกันได้" ได้ที่ www.thaipbs.or.th/RuTanKanDai
การรับประทานผักผลไม้เป็นสิ่งที่ดีต่อสุขภาพและควรทำเป็นประจำ อย่างไรก็ตามในยุคที่ผู้คนหันมาดูแลสุขภาพด้วยการรับประทานผักและผลไม้มากขึ้น หลายคนอาจยังไม่ทราบว่าในผักผลไม้นั้นมีสารบางชนิดที่อาจส่งผลต่อสุขภาพได้ หนึ่งในนั้นคือ "ออกซาเลต" (Oxalate) ซึ่งเป็นสารที่พืชสร้างขึ้นเองตามธรรมชาติ แล้วสารนี้อันตรายแค่ไหน? และเราควรรับประทานผักผลไม้อย่างไรให้ปลอดภัย? มาหาคำตอบกัน
ออกซาเลต เป็นสารในกลุ่ม "แอนตินิวเทรียนท์" (Antinutrient) หรืออาจเรียกง่าย ๆ ว่า "สารต้านสารอาหาร" หรือ "สารแย่งวิตามิน" ที่พืชสร้างขึ้นตามธรรมชาติ
พืชสร้างออกซาเลตเพื่อวัตถุประสงค์สำคัญคือ
เมื่อมนุษย์รับประทานพืชที่มีออกซาเลตสูง สารนี้จะเข้าสู่ร่างกายและอาจส่งผลกระทบต่อการดูดซึมสารอาหารบางชนิด
นอกจากออกซาเลตแล้ว ยังมีสารแอนตินิวเทรียนท์อื่นๆ ที่พบได้ในอาหารประจำวัน เช่น
อาหารที่อุดมไปด้วยออกซาเลตมักเป็นผักและถั่วหลายชนิด ได้แก่
การรับประทานอาหารที่มีออกซาเลตสูงเป็นประจำอาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพ ดังนี้
ความเสี่ยงหลักของออกซาเลตคือการทำให้เกิดนิ่ว โดยเฉพาะนิ่วชนิดแคลเซียมออกซาเลต โดยจะเกิดอันตรายมากขึ้นในกรณีต่อไปนี้
ออกซาเลตสามารถจับกับแร่ธาตุบางชนิด เช่น แคลเซียม ทำให้การดูดซึมแร่ธาตุเหล่านั้นลดลง ซึ่งอาจส่งผลต่อสุขภาพในระยะยาว
มีปรากฏการณ์ที่เรียกว่า "Oxalate Dumping" หรือ "ออกซาเลตโดนเท" เกิดขึ้นเมื่อคนที่เคยรับประทานผักที่มีออกซาเลตสูงเป็นประจำ แล้วหยุดรับประทานอย่างกะทันหัน ทำให้เกิดอาการต่าง ๆ เช่น
อย่างไรก็ตาม ข่าวดีคือ อาการเหล่านี้มักหายไปได้เองตามธรรมชาติ และไม่รุนแรงถึงขั้นทำให้เกิดอาการแพ้รุนแรงหรือช็อกหายใจไม่ออก
จากการศึกษาวิจัย พบว่าปริมาณออกซาเลตที่อาจเริ่มส่งผลต่อสุขภาพมีดังนี้
โดยสรุป เราไม่ควรรับประทานผักดิบที่มีออกซาเลตสูงทั้ง 3 มื้อต่อวัน ควรสลับกับผักสุกหรือผักชนิดอื่น ๆ บ้าง
หากคุณชอบรับประทานผักและถั่วที่มีออกซาเลตสูง แต่ต้องการลดความเสี่ยง มีวิธีปฏิบัติดังนี้
การปรุงอาหารด้วยความร้อนจะช่วยลดปริมาณออกซาเลตได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การดื่มน้ำมาก ๆ โดยเฉพาะเมื่อรับประทานอาหารที่มีออกซาเลตสูง จะช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดนิ่ว
วิตามินซีมากกว่า 1,000 มิลลิกรัมต่อวัน เมื่อรับประทานร่วมกับผักที่มีออกซาเลตสูง จะเพิ่มความเสี่ยงในการเกิดนิ่วชนิดแคลเซียมออกซาเลต
สำหรับบางกลุ่มคนที่มีความเสี่ยงสูง ควรระมัดระวังเป็นพิเศษ
แม้ผู้ป่วยโรคไตจะต้องระมัดระวังเรื่องอาหารมากกว่าคนทั่วไป แต่ก็ไม่จำเป็นต้องงดผักที่มีออกซาเลตโดยสิ้นเชิง เพียงแต่
ออกซาเลตไม่ได้อันตรายถึงขั้นที่ต้องเลิกรับประทานผักและถั่วโดยสิ้นเชิง แต่ควรรับประทานอย่างพอดีและถูกวิธี ดังนี้
ไม่มีอาหารชนิดใดที่ต้องหลีกเลี่ยง 100% ตราบใดที่รับประทานอย่างพอดีและถูกวิธี ร่างกายมนุษย์มีกลไกการกำจัดสารพิษตามธรรมชาติ เพียงแต่เราต้องไม่รับประทานในปริมาณที่มากเกินไปจนร่างกายรับมือไม่ไหว
การรับประทานอาหารที่หลากหลาย ครบทั้ง 5 หมู่ และปรุงอย่างถูกวิธี ยังคงเป็นหลักการที่ดีที่สุดสำหรับการมีสุขภาพที่ดี
ชมย้อนหลังรายการ "วันใหม่วาไรตี้" ในช่วง "รู้ทันกันได้" ได้ที่ www.thaipbs.or.th/RuTanKanDai