กินโปรตีนมากเกินไป เสี่ยงไตพังการรับประทานโปรตีนปริมาณมาก นอกจากจะทำให้เกิดภาวะขาดน้ำแล้วยังส่งผลเสี่ยงให้เกิดโรคไตได้ และหากมีการรับประทานอาหารกลุ่มคาร์โบไฮเดรตน้อยอยู่แล้วจะยิ่งทำให้ไตทำงานหนักขึ้น ติดตามความรู้จาก นพ.ปรัชญา พุมอุทัยวิรัตน์ แพทย์เฉพาะทางอายุรศาสตร์โรคไต รพ.จุฬาภรณ์
ภาวะแทรกซ้อนที่มากับเบาหวาน“โรคเบาหวาน” เปรียบเสมือนการมีเพชฌฆาตเงียบ สำหรับผู้ป่วยโรคเบาหวานท่านใด ที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ จะส่งผลทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนตามมา ติดตามความรู้เพิ่มเติมได้จาก นพ.ปรัชญา พุมอุทัยวิรัตน์
การปรับยาซึมเศร้าโรคซึมเศร้า เป็นโรคที่สารเคมีในสมองไม่สมดุล เราจึงใช้ยาไปปรับสมดุลเพื่อให้อารมณ์เป็นปกติ แพทย์จึงต้องปรับยาเพื่อให้ผู้ป่วยมีอาการที่ดีขึ้นโดยไม่มีผลข้างเคียง โดยผู้ป่วยห้ามปรับยาเองเป็นอันขาด ติดตามความรู้ได้จาก นพ.อภิชาติ จริยาวิลาศ โฆษกกรมสุขภาพจิต
แจกฟรีถุงยาง ยาคุมกำเนิด แก้ปัญหาท้องไม่พร้อมวัยรุ่นในปัจจุบันยังมีปัญหาการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรและพบโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์มากขึ้น จึงเกิดโครงการ ‘เลิฟปัง รักปลอดภัย’ เป็นส่วนหนึ่งของสิทธิประโยชน์ ‘สุขภาพดีป้องกันโรค’ เพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
ดื่มน้ำกระท่อมเสี่ยงไตวายสำหรับคนที่มีการใช้ใบกระท่อมที่มากจนเกินไปทำให้ไตทำงานหนักในการขับของเสีย ซึ่งส่งผลเสียมากกว่าผลดี ติดตามความรู้ได้จาก นพ.ปรัชญา พุมอุทัยวิรัตน์ แพทย์เฉพาะทางอายุรศาสตร์โรคไต รพ.จุฬาภรณ์
สารในน้ำตาลเทียม เสี่ยงต่อการเป็นโรค NCDsสารให้ความหวาน มีทั้งแบบไม่ให้พลังงาน และให้พลังงานต่อร่างกาย อย่างไรก็ตามการบริโภคสารให้ความหวานมีทั้งประโยชน์และโทษต่อร่างกาย จะรับประทานอย่างไรให้ปลอดภัย ติดตามความรู้จาก นพ.ปรัชญา พุมอุทัยวิรัตน์