กนง. มติ 5 ต่อ 2 ลดดอกเบี้ย 0.25% มีผลทันทีกนง.มีมติ 5 ต่อ 2 เสียง ลดอัตราดอกเบี้ยนโยบาย 0.25% ต่อปี จาก 2.50% เป็น 2.25% ต่อปี มีผลทันที หวังช่วยบรรเทาภาระหนี้ครัวเรือนและสอดคล้องกับศักยภาพเศรษฐกิจ เป็นการลดดอกเบี้ยครั้งแรกในรอบ 4 ปี
กรุงศรีฯ ชี้ เงินบาทแกว่ง 32.90 - 33.65 ลุ้นมติ กนง.บ่ายนี้กรุงศรีฯ เผยเงินบาทสัปดาห์นี้ซื้อขายในกรอบ 32.90 - 33.65 คาดประชุมกนง.บ่ายนี้คงดอกเบี้ย ขณะที่ตลาดให้ความสนใจผลประชุมธนาคารกลางยุโรป ชี้ความเสี่ยงด้านภูมิรัฐศาสตร์ ความไม่แน่นอนเลือกตั้งสหรัฐฯ มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจจีน ยังเป็นปัจจัยผันผวนสูง
กนง.ประกาศคงดอกเบี้ย ค่าเงินบาทขยับ 34.30 บาท /ดอลลาร์กรุงศรี โกลบอลมาร์เก็ตส์ ระบุ ค่าเงินบาทเคลื่อนไหวเล็กน้อยอยู่ที่ 34.30 บาท/ดอลลาร์ หลังกนง.มติคงอัตราดอกเบี้ยต่อ คาดประชุม 16 ต.ค.ตรึงดอกเบี้ยนโยบายต่อ ด้าน “ฮั้วเซ้งเฮง” ชี้ราคาทองในประเทศดีดระยะสั้น
ชื่นมื่น "คลัง -ธปท."ถกช่วยรายย่อย ไร้หารือประเด็นดิจิทัลวอลเล็ตพิชัย รมว.คลัง เผย หารือผู้ว่าแบงก์ชาติ เห็นตรงกันแก้ปัญหารายย่อยเข้าไม่ถึงสินเชื่อ ย้ำแบงก์ชาติ มีอิสระในการทำงาน ยังไม่ถกเรื่องดิจิทัลวอลเล็ตชี้อาจจะหารือรอบนอก
มติ กนง. 5 : 2 เสียง คงอัตราดอกเบี้ยนโยบาย 2.5% ต่อปีวันนี้ (10 เม.ย.2567) คณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) มีมติ 5 : 2 เสียง คงอัตราดอกเบี้ยนโยบาย 2.5% ต่อปี
กนง. มีมติคงดอกเบี้ยนโยบาย 2.50% มีผลทันทีกนง. มีมติ 5 ต่อ 2 เสียง ให้คงอัตราดอกเบี้ยนโยบาย ไว้ที่ 2.50% ต่อปี มีผลทันที
ตามคาด กนง.ขึ้นดอกเบี้ยนโยบายเป็น 2% ต่อปี มีผลทันทีที่ประชุม กนง.มีมติเป็นเอกฉันท์ให้ขึ้นดอกเบี้ยนโยบายอีกร้อยละ 0.25 ทำให้อัตราดอกเบี้ยนโยบายไปอยู่ที่ร้อยละ 2 ต่อปี โดยมีผลทันที
บอร์ดนโยบายการเงินการคลัง ไฟเขียวหนี้สาธารณะไม่เกิน 70% ของจีดีพีคณะกรรมการนโยบายการเงินการคลังของรัฐทบทวนกรอบสัดส่วนหนี้สาธารณะต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศเป็นไม่เกิน 70% จากเดิมกำหนดไว้ 60%
กนง.มีมติคงดอกเบี้ยนโยบายที่ร้อยละ 1.50 เหตุเศรษฐกิจโลกยังอ่อนไหวคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) มีมติคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ร้อยละ 1.50 ต่อปี เนื่องจากเห็นว่าเศรษฐกิจไทยยังคงฟื้นตัวอย่างค่อยเป็นค่อยไปและไทยยังมีความเสี่ยงจากการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกที่ยังอ่อนไหว
ท่าที "ขุนคลัง" พบผู้ว่าการ ธปท. สงวนจุดต่างปมขัดแย้งนโยบายการเงินและดิจิทัล วอลเล็ต ทำให้การพบกันถูกจับตามองเป็นพิเศษ โดย รมว.การคลัง ยึดหลักแสวงหาจุดร่วม สงวนจุดต่าง ไม่หยิบประเด็นแจกเงินดิจิทัลและลดท่าทีกดดันให้ลดดอกเบี้ย
"พิชัย-เศรษฐพุฒิ" นัดหารือนโยบายการเงินการคลังหนึ่งในประเด็นที่หลายคนติดตามในช่วงนี้ คือ การทำงานร่วมกันระหว่างรัฐบาลกับธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.)
นายกฯ เศรษฐา ผู้ว่าฯ เศรษฐพุฒิเมื่อฝ่ายบริหาร คิดเห็นต่างกับธนาคารกลาง พูดคุยกับ ดร.สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์ มองความเห็นต่าง ในนโยบายการเงินและการคลังเป็นเรื่องปกติ แต่จะต้องสื่อสารกันอย่างไร
ส่องภาวะเงินเฟ้อไทย ไปต่อหรือชะลอตัว ?"ภาวะเงินเฟ้อ" ไม่ใช่เกิดขึ้นเฉพาะในไทย แต่กำลังเกิดขึ้นทั่วโลก ชวนส่องภาวะเงินเฟ้อไทยและต่างประเทศว่าจะดำเนินต่อไป หรือเริ่มชะลอตัวแล้วปรับดีขึ้น แล้วแนวทางแก้ปัญหาเงินเฟ้อในประเทศ ทั้งนโยบายการเงินและการคลังเป็นอย่างไร ?