การตระหนักรู้ต่อการจัดการอาการกำเริบในผู้ป่วยโรคปอดอุดกลั้นเรื้อรังเรียนรู้เกี่ยวกับการตระหนักรู้ต่อการจัดการอาการกำเริบในผู้ป่วยโรคปอดอุดกลั้นเรื้อรัง ต่อกันด้วยปรับวิถีชีวิตสู่สุขภาพดีสไตล์ญี่ปุ่น และ3 ท่าออกกำลังกายบริหารแกนกลางลำตัว
รู้จักโรคกระเพาะอาหารโรคกระเพาะอาหาร แม้จะไม่ใช่โรคที่รุนแรงแต่หากปล่อยให้มีอาการเรื้อรัง มีโอกาสพัฒนาไปเป็นโรคแผลในกระเพาะอาหาร กระเพาะอาหารทะลุ มะเร็งกระเพาะอาหารได้ ติดตามความรู้จาก นพ.อุดมรัช โกวิททวิพัฒน์
ปัจจัยเสี่ยงในการเกิดโรคหืด และภูมิแพ้โรคภูมิแพ้ (Allergies) ป้องกันได้ตั้งแต่มารดาตั้งครรภ์ด้วยการประเมินความเสี่ยง ปรับพฤติกรรม รวมถึงควบคุมโภชนาการอย่างเหมาะสมตั้งแต่ตั้งครรภ์ ซึ่งจะช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดภูมิแพ้และการดำเนินของโรคที่มีสาเหตุจากเรื่องพันธุกรรมได้
ท่ากายบริหารหัวเข่าลดอาการปวดขาสำหรับอาการปวดเข่าในผู้สูงอายุสามารถบรรเทาอาการได้ ด้วยท่ากายบริหารง่าย ๆ กับโคชณิชา โดยมีผ้าขนหนูเป็นอุปกรณ์ช่วยผู้สูงวัยสามารถทำได้อย่างปลอดภัย ทำตามเป็นประจำทุกวันจะบรรเทาอาการปวดเข่าได้
การวินิจฉัยโรคไขมันพอกตับภาวะไขมันพอกตับ เป็นสาเหตุหนึ่งที่นำไปสู่การเกิดโรคมะเร็งตับ ซึ่งประเทศไทยพบผู้ป่วยโรคมะเร็งตับเป็นอันดับ 5 ของโลก ติดตามความรู้ในการป้องกันความเสี่ยงและนวัตกรรมในการวินิจฉัยภาวะไขมันพอกตับ กับ รศ. พญ.วัฒนา สุขีไพศาลเจริญ
เข้าใจสมอง พิชิตความกลัวในร่างกายของคนเรามีสมองส่วนที่เรียกว่า Amygdala ซึ่งทำงานเกี่ยวข้องกับเรื่องของ “ความกลัว” หนึ่งในอาการที่เราทุกคนล้วนเกิดขึ้นได้ทั้งสิ้น แต่หากมีมากเกินไป จนกระทบต่อการใช้ชีวิตประจำวัน ควรรีบปรึกษาแพทย์เพื่อทำการรักษา
ฝึกการทรงตัวสำหรับผู้มีปัญหาทางสายตาและการมองเห็นผู้ที่มีปัญหาทางสายตาและการมองเห็น การฝึกการทรงตัวอาจไม่สามารถทำได้ง่ายเหมือนคนทั่วไป การปรับท่าให้เหมาะสม อาจต้องใช้อุปกรณ์เข้ามาช่วยในการฝึก ติดตามคำแนะนำได้จาก ยุทธนา พลเจริญ ครูสอนโยคะ
ท่าออกกำลังกายสำหรับคนไม่มีเวลาวันนี้โคชแคทมีท่าออกกำลังกายง่าย ๆ สำหรับคนที่เวลาน้อย หรือไม่มีเวลา ทำได้ง่าย ๆ วันละ 5 – 10 นาที
ท่าออกกำลังกายบริหารทั้งตัวโดยใช้เก้าอี้ออกกำลังกายทั้งตัวให้แข็งแรงไปพร้อม ๆ กับโคชแม้ด ด้วยการใช้เก้าอี้เป็นอุปกรณ์ช่วย ได้ทั้งช่วงบนและช่วงล่าง
ไฟโบรมัยอัลเจีย โรคเรื้อรังที่ทำให้ปวดเมื่อย, ปวดกล้ามเนื้อเรื้อรังจากความเครียดมาทำความรู้จักกับ "ไฟโบรมัยอัลเจีย" โรคเรื้อรังที่ทำให้ปวดเมื่อย จะเกิดจากปัจจัยใดบ้าง จากนั้นมาเรียนรู้วิธีบริหารร่างกายเพื่อลดอาการปวดกล้ามเนื้อเรื้อรังจากความเครียด
สมุนไพรกับระบบประสาท, ทำงานบ้านอย่างไร ไม่ให้ปวดเมื่อยร่วมพูดคุยสร้างความเข้าใจถึงความสำคัญของศาสตร์การแพทย์แผนไทย ที่นำสมุนไพรมารักษาอาการปวด จากนั้นมาฝึกบริหารร่างกาย ที่อาจเกิดจากการทำงานบ้าน เพื่อป้องกันอาการปวดเมื่อย
ฟื้นฟูผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง, ฝึกโยคะกระชับต้นแขนมาทำความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการฟื้นฟูอาการของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง จากนั้นชวนมากระชับต้นแขนด้วยการฝึกโยคะแบบง่าย ๆ
ลูกชิ้นทอด กินอย่างไรให้ได้สุขภาพ, ยืนมั่นคง ไม่โงนเงน"ลูกชิ้นทอด" ที่กำลังนิยมในช่วงนี้ กินอย่างไรให้สุขภาพไม่พัง จากนั้นชวนมาฝึกการบริหารร่างกาย ช่วยให้ขาแข็งแรง ป้องกันการหกล้ม
โรคต่อมหมวกไตหมดไฟ, กดจุด กระตุ้นกล้ามเนื้อด้วยเทคนิควอยตามาทำความเข้าใจกับ “โรคต่อมหมวกไตหมดไฟ” จะมีวิธีการรักษาอย่างไรบ้าง จากนั้นมาเรียนรู้การกดจุด กระตุ้นกล้ามเนื้อด้วยเทคนิค "วอยตา"
ยาหอมบำรุงใจวัยเก๋า, สูงวัยหลังไม่ค่อมในปัจจุบันยาหอมมีกี่ชนิด จะมีข้อควรระวังในการใช้ยาหอมอย่างไรบ้าง จากนั้นชวนวัยเก๋ามาบริหารร่างกายด้วยท่าง่าย ๆ ช่วยปรับบุคลิก ป้องกันหลังค่อม
นมจากพืชเพื่อสุขภาพ, บริหารก่อนเล่นเซิร์ฟสเกตชวนมาทำความเข้าใจเกี่ยวกับ "นมจากพืช" ทางเลือกหนึ่งสำหรับคนแพ้นมจากสัตว์ จากนั้นเอาใจสายเซิร์ฟสเกตด้วยท่าบริหารก่อนเล่นเซิร์ฟสเกต
ดูแลสุขภาพด้วยแพทย์แผนจีนช่วงโควิด-19, รู้จักอาการมือชาในช่วงวิกฤตโควิด-19 เรานำแพทย์แผนจีนมาดูแลสุขภาพได้อย่างไรบ้าง ? จากนั้นมาเรียนรู้สาเหตุอาการมือชาและวิธีการบำบัดรักษาแบบง่าย ๆ
เมนูจากกะเพรา สมุนไพรหลากประโยชน์, บอกลาอาการปวดจากการนั่งทำงานที่บ้านมาดูกันว่า "กะเพรา" สมุนไพรสารพัดประโยชน์ แต่จะมีข้อควรระวังในการกินอย่างไรบ้าง จากนั้นมาเรียนรู้วิธีบอกลาความปวดเมื่อยจากการนั่งทำงานที่บ้าน
สร้างเสริมสุขภาพจิตของลูก ด้วยการเล่น, โยคะ 5 นาทีก่อนนอน ช่วยให้หลับสนิทชวนพ่อแม่มาเรียนรู้การเลี้ยงดูลูก สร้างเสริมสุขภาพจิตของลูกด้วยการเล่น จากนั้นพาไปฝึกโยคะ 5 นาทีก่อนนอน ช่วยให้หลับสนิท
ไขปัญหาเหงือกบวม, จัดท่านอนสำหรับผู้ป่วยโควิด-19รู้ทันอาการ "เหงือกบวม" เกิดจากสาเหตุใดได้บ้าง จะมีวิธีรักษาและป้องกันอย่างไร จากนั้นมาเรียนรู้การจัดท่านอนสำหรับผู้ป่วยโควิด-19 ที่ช่วยให้หายใจสะดวกมากขึ้น
ความเข้าใจเรื่องการฉีดวัคซีนโควิด-19 กระตู้นภูมิ, ออกกำลังกายด้วยลูกกลิ้ง บริหารหน้าท้องร่วมพูดคุยและรับฟังคำแนะนำเกี่ยวกับความเข้าใจเรื่องการฉีดวัคซีนโควิด-19 เพื่อกระตู้นภูมิคุ้มกัน จากนั้นมาออกกำลังกายบริหารหน้าท้องด้วยลูกกลิ้งแบบ New Normal
พฤติกรรมเสี่ยงทำให้แก่ก่อนวัย, ชี่กงบำบัดไมเกรนไขความกระจ่าง พฤติกรรมใดที่ทำให้แก่ก่อนวัยได้ จากนั้นชวนมาฝึกท่าชี่กง ที่ช่วยบำบัดอาการไมเกรน
ทำความรู้จักโพรไบโอติกในอาหาร, ฝึกการทรงตัวแบบ Barre Exerciseมาทำความรู้จัก "โพรไบโอติก" จะมีในอาหารชนิดใดบ้าง จากนั้นชวนมาฝึกการทรงตัวและใช้กล้ามเนื้อแบบนักบัลเลต์
ปัญหาฟันเหลือง, ชี่กงบำบัดภูมิแพ้นอกจากชาและกาแฟ มีปัจจัยใดอีกบ้างที่ทำให้ฟันเหลือง ? จากนั้นมาเรียนรู้แนวทางชี่กงบำบัด ที่ช่วยบรรเทาอาการภูมิแพ้
ไขความกระจ่างโรคกินไม่หยุด, ออกกำลังกายด้วยแรงต้าน เพิ่มมวลกล้ามเนื้อร่วมถามตอบข้อสงสัย ไขความกระจ่างของ "โรคกินไม่หยุด" จากนั้นมาออกกำลังกายด้วยแรงต้าน เพิ่มมวลกล้ามเนื้อ
ทำอย่างไรเมื่อมีสิ่งแปลกปลอมเข้าหู, บริหารง่ายๆ ในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองถ้ามีสิ่งแปลกปลอมเข้าหู จะมีวิธีเอาออกมาเองได้อย่างไร จากนั้นมาเรียนรู้การออกกำลังกายในกลุ่มผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง
ทำอย่างไรเมื่อหูอื้อ หูดับ, สูงวัย ห่างไกลการล้มรับฟังคำแนะนำว่าควรทำอย่างไรเมื่อมีอาการหูอื้อ หูดับ จากนั้นชวนวัยเก๋ามาฝึกบริหารร่างกาย ช่วยป้องกันการหกล้ม
อาหารที่ควรกินตอนเช้า ช่วยให้สดชื่น, ออกกำลังกายแขนในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองหลังจากตื่นนอน ใครที่ยังมีอาการง่วงนอน มาดูว่าอาหารชนิดใดบ้างที่ควรกินในตอนเช้า เพื่อเพิ่มความสดชื่น จากนั้นมาฝึกออกกำลังกายแขนในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง
ดูแลสุขภาพจิตในช่วงโควิด-19 ระบาด, 4 ท่าง่าย ๆ ลดปวดหลังเรื้อรังชวนมาดูแลสุขภาพจิตใจ ในช่วงที่โควิด-19 กำลังระบาด แล้วมาเรียนรู้ท่ากายภาพช่วยลดปวดหลังเรื้อรัง
คำแนะนำในผู้กินยาบางชนิดก่อนฉีดวัคซีนโควิด-19, ป้องกันภาวะสูญเสียมวลกล้ามเนื้อในผู้สูงวัยมาฟังคำแนะนำในผู้ที่กินยาบางชนิดเป็นประจำ ยาประเภทใดที่มีข้อควรรู้ก่อนฉีดวัคซีนโควิด-19 จากนั้นชวนวัยเก๋ามาดูแลสุขภาพ เพื่อห่างไกลจากภาวะสูญเสียมวลกล้ามเนื้อ