"เขื่อนเจ้าพระยา" ลดระบายน้ำ บรรเทาน้ำท่วมที่ลุ่มต่ำนอกคันกั้นน้ำเขื่อนเจ้าพระยาทยอยปรับลดการระบายน้ำเหลือ 2,000 ลบ.ม./วินาที บรรเทาผลกระทบพื้นที่ลุ่มต่ำนอกคันกั้นน้ำอยุธยา สิงห์บุรีและอ่างทอง
คาดระบายน้ำ “เทศบาลนครนครศรีธรรมราช” หมดภายใน 1-2 วันนี้ เจ้าหน้าที่เทศบาลได้เร่งเก็บขยะในซอยชุมชนประตูขาว เพื่อให้ระบายน้ำได้รวดเร็ว เพราะจุดนี้เป็นพื้นที่ลุ่มต่ำที่ยังมีน้ำท่วม
เตือนชุมชนเมืองนราธิวาสรับมือแม่น้ำโก-ลกล้นตลิ่งกรมชลประทานประสาน จ.นราธิวาส ให้แจ้งเตือนประชาชนพื้นที่ลุ่มต่ำในเขตเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก เตรียมพร้อมรับมือน้ำจากแม่น้ำโก-ลกที่จะเอ่อล้นตลิ่งในวันพรุ่งนี้ (9 พ.ย.2560)
อยุธยาน้ำท่วมรอบ 3 -ระดับน้ำสูงขึ้น -กรมชลฯ ระบายน้ำเพิ่ม การปรับเพิ่มอัตราการระบายน้ำท้ายเขื่อนเจ้าพระยาเป็น 2,196 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที เพราะมีฝนตกหนักในภาคเหนือ ทำให้พื้นที่ลุ่มต่ำริมแม่น้ำน้อยระดับน้ำเพิ่มสูงอีกครั้งเกือบ 20 เซนติเมตร ส่วนชาวบ้านเตรียมขนของขึ้นที่สูงหนีน้ำเป็นรอบที่ 3
ชลประทานแจงยังไม่ผันน้ำเข้าทุ่งรับน้ำบางบาล เหตุมีข้าวรอเก็บเกี่ยวหลายพันไร่ กรมชลประทานชี้แจงว่า ยังผันน้ำเข้าทุ่งรับน้ำไม่ได้ เพราะยังมีข้าวที่รอการเก็บเกี่ยวอีกหลายพันไร่
ชาวโผงเผงถูกน้ำท่วมสูง 1 เมตร หลังเขื่อนเจ้าพระยาระบายน้ำเพิ่มพื้นที่นอกคันกั้นน้ำลุ่มต่ำภาคกลางได้รับผลกระทบจากการปรับอัตราการระบายน้ำท้ายเขื่อนเจ้าพระยาเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง โดยเฉพาะ จ.อ่างทอง มีบ้านเรือนถูกน้ำท่วมสูงเกือบ 1 เมตรแล้ว
ชาวบ้านริมแม่น้ำน้อย อ.ผักไห่ สะท้อนปัญหาน้ำท่วมซ้ำซากชาวบ้าน อ.ผักไห่ จ.พระนครศรีอยุธยา ต้องใช้เรือเป็นพาหนะ เพราะบ้านถูกน้ำท่วมสูงราว 1 เมตร กว่า 1 เดือนครึ่ง เพราะอยู่พื้นที่ลุ่มต่ำติดกับแม่น้ำน้อย สะท้อนปัญหาน้ำท่วมซ้ำซาก
เร่งระบายน้ำท้ายเขื่อนเจ้าพระยา จ.ชัยนาทกรมชลประทานจะปรับการระบายน้ำของเขื่อนเจ้าพระยา ในเกณฑ์ 1,000 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที เพื่อรองรับปริมาณน้ำเหนือในช่วง 1-2 วันนี้ คาดว่าระดับน้ำท้ายเขื่อนจะสูงขึ้นอีก 10-15 เซนติเมตร
น้ำเหนือเอ่อล้นตลิ่ง ต.บ้านกระทุ่ม อ.เสนา จ.พระนครศรีอยุธยาชาวบ้าน ต.บ้านกระทุ่ม อ.เสนา จ.พระนครศรีอยุธยา ต่างทยอยเก็บของขึ้นที่สูงและต้องเดินลุยน้ำ หลังระดับน้ำในแม่น้ำน้อยเอ่อล้นเข้าท่วมพื้นที่ลุ่มต่ำ
หนองคายฝนตกหนักต่อเนื่องหลายวัน ทำพื้นที่ลุ่มต่ำเกิดน้ำท่วมจ.หนองคาย มีฝนตกติดต่อกัน 3 วันแล้ว จนทำให้พื้นที่ลุ่มต่ำบริเวณชุมชนดอนโพธิ์และชุมชนดอนแดง เขตเทศบาลเมืองหนองคาย เกิดน้ำท่วมขังสูงประมาณ 20 เซนติเมตร กระทบชาวบ้านในพื้นที่
ถอดรหัส อุทกภัยพิบัติ "เตี้ยนหมู่"ด้วยร่องมรสุมพาดผ่านภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ส่งผลให้เกิดน้ำท่วมฉับพลัน น้ำป่าไหลหลาก ร่วมกันถอดรหัสอุทกภัยพิบัติ "เตี้ยนหมู่" ถึงผลกระทบ พร้อมแนวทางแก้ไขและบริหารจัดการน้ำจะเป็นอย่างไร