ราคาอาหาร-มาตรการรัฐ ฉุดเงินเฟ้อ มี.ค.ลบ 0.47% ลดต่อเนื่อง 6 เดือน“พาณิชย์”เผย เงินเฟ้อ มี.ค.67 ลบ 0.47 % ลดต่อเนื่อง 6 เดือน เหตุราคาอาหารสด ผักสดปรับลดลง ค่าไฟฟ้าและน้ำมัน ยังต่ำกว่าเดือนเดียวกันของปีก่อน ดัน 3 เดือนเงินเฟ้อ ลด 0.79 % พร้อมปรับเป้าใหม่ เป็นบวก 0-1 %
เงินเฟ้อ ก.พ.67 ติดลบ 0.77% เนื้อสัตว์ ผักถูก อานิสงส์มาตรการรัฐ “พาณิชย์”เผย เงินเฟ้อ ก.พ.67 ติดลบ 0.77% ลดต่อเนื่อง 5 เดือน เนื้อสัตว์-ผักสดปรับลดราคา อานิสงส์มาตรการรัฐ ยอดรวม 2 เดือน ลด 0.94% คาด มี.ค.-เม.ย. ติดลบต่อ แต่พ.ค. จะฟื้นหลังมาตรการลดน้ำมัน ค่าไฟ สิ้นสุด คงเป้าทั้งปี ติดลบ 0.3% ถึงเพิ่ม 1.7%
มาตรการรัฐดึงเงินเฟ้อ ม.ค.67 ลบ 1.11% ต่ำสุดในรอบ 35 เดือน“พาณิชย์”เผยเงินเฟ้อ ม.ค.67 ติดลบ 1.11% ต่อเนื่อง 4 เดือน ต่ำสุดในรอบ 35 เดือน เหตุมาตรการรัฐลดราคาน้ำมัน ค่าไฟ สินค้าอาหารสดต่อเนื่อง ย้ำไม่มีสัญญาณเงินฝืด ชี้สินค้ามีขึ้น-ลง ไม่น่าห่วง คาดปี 67 ติดลบ 0.3- 1.7%
สนค.เผยแนวโน้มเงินเฟ้อปี 67 ชะลอตัวต่อเนื่อง 2 ปีติด สนค.เผยแนวโน้มเงินเฟ้อปี 67 ชะลอตัวต่อเนื่องเป็นปีที่ 2 คาดการณ์ว่าอัตราเงินเฟ้อปี 2567 จะอยู่ระหว่างร้อยละ (-0.3) – 1.7 และค่ากลางอยู่ที่ร้อยละ 0.7
เงินเฟ้อไทยลดต่อเนื่อง 3 เดือน อานิสงส์ "พลังงาน-ค่าครองชีพ"ต่ำอานิสงส์ ราคาพลังงาน-อาหารสดลด ทำเงินเฟ้อ เดือน ธ.ค. ติดลบน้อยลงต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 3 ปี 67 เป้าเงินเฟ้อลบ 1.7 % คาด ม.ค.เงินเฟ้อยังติดลบ จากปัจจัยมาตรการรัฐ ทั้งตรึงราคาน้ำมัน-ค่าไฟ Easy E-Receipt ห่วงกบฏทะเลแดงดันค่าระวางเรือพุ่ง
รัฐลดค่าครองชีพ ฉุดเงินเฟ้อ พ.ย. ลบ 0.44% ต่ำสุด 33 เดือน“พาณิชย์” เผย เงินเฟ้อ ลดต่อเนื่อง 2 เดือน ต่ำสุดในรอบ 33 เดือน สินค้ากลุ่มพลังงาน อาหาร หมู ไก่ น้ำมันพืช ลด ย้ำไม่มีสัญญาณเงินฝืด คาดทั้งปีเงินเฟ้อไทยอยู่ที่ 1.0-1.7% ตั้งเป้าปี 67 ติดลบ 0.3% ถึงบวก 1.7%
ก.พาณิชย์ ยันไทยไม่เกิดภาวะเงินฝืด คาดผู้ผลิตชะลอปรับขึ้นราคาสินค้าปีนี้ก.พาณิชย์ ยันไทยไม่เกิดภาวะเงินฝืด แม้ดัชนีเงินเฟ้อติดลบ 13 เดือน เหตุประชาชนยังมีกำลังซื้อ คาดผู้ผลิตชะลอปรับขึ้นราคาสินค้าในปีนี้ เพื่อรักษาส่วนแบ่งตลาด พบราคาสินค้าขายปลีกลดลง 104 รายการ เท่าเดิม 202 รายการ
เศรษฐกิจไทย เสี่ยงเงินฝืด ? | จับตาสถานการณ์ | 7 มี.ค. 67จากกรณี สนค. แถลงภาวะเงินเฟ้อ เดือนกุมภาพันธ์ ปี 2567 ซึ่งพบว่า อัตราเงินเฟ้อทั่วไปลดลง 0.77% ต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 5 จึงเป็นคำถามต่อไปว่า เศรษฐกิจไทยกำลังน่าเป็นห่วง หรือ เข้าสู่ภาวะเงินฝืด แล้วหรือไม่ ?
ปมร้อน "ดอกเบี้ยแพง" สวนทางเศรษฐกิจ "เงินเฟ้อติดลบ"ร่วมสนทนาประเด็น...อัตราดอกเบี้ยนโยบายของธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) การรักษาเสถียรภาพทางการเงิน และสัญญาณทางเศรษฐกิจของประเทศ