ก้าวต่อไป ขอนแก่น เมืองไม่ทิ้งเด็กความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา เป็นปัญหาใหญ่ที่หลายฝ่ายพยายามหาแนวทางแก้ไข ถึงขนาดที่รัฐบาลประกาศเป็นวาระหลัก และมีนโยบายจะทำให้เด็กหลุดนอกระบบหรือ Drop out กลายเป็นศูนย์ ภายในปี 2565 นโยบายนี้ถูกส่งให้แต่ละจังหวัดดำเนินการ
ภาครัฐ-เอกชนขอนแก่น จับมือแก้ปัญหาวิกฤตการศึกษาภาครัฐ-เอกชน จ.ขอนแก่น ลงนามบันทึกข้อตกลงขยายความร่วมมือการจัดการศึกษาเชิงพื้นที่ ให้การช่วยเหลือเด็กยากจนและยากจนพิเศษครอบคลุมทุกด้าน เพื่อลดความเหลื่อมล้ำในพื้นที่
บ้านหลังใหม่ของ "บุญรอด" ฟื้นชีวิตผู้หญิงตัวเล็กๆ และครอบครัวสำหรับบางคน การมี "บ้าน" เป็นของตัวเองอาจเป็นเรื่องง่าย แต่อีกหลายคนไม่กล้าแม้แต่จะฝันถึง
กสศ.เปิดรายงานวิกฤตการเรียนรู้ ของเด็กประถมต้น หลังโควิด-19รายงานพิเศษ “ห้องเรียนฟื้นฟูหลังโควิด-19” ของกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) เปิดเผย ภาวะฉุกเฉินทางการเรียนรู้เพราะโควิด-19 “เด็กประถมต้น” มีพัฒนาการถดถอยเทียบเท่าอนุบาล และภาวะกล้ามเนื้อบกพร่อง หากไม่เร่งฟื้นฟู โอกาสล้มเหลวในอนาคตสูง
กทม. จับมือ กสศ. ขยายเป้าหมายลดเหลื่อมล้ำ ช่วยเด็กยากจนทั้งใน - นอกระบบ“ชัชชาติ” ยอมรับ กทม. เป็นเมืองที่มีความเหลื่อมล้ำสูง เดินหน้าจับมือ กสศ. ขยายเป้าหมาย ช่วยเด็กยากจนทั้งใน - นอกระบบ ต้นเหตุความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา
หลายองค์กรร่วมผลักดัน "ความเสมอภาค" ทางการศึกษากองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) ร่วมกับพันธมิตรด้านการศึกษา จัดประชุมวิชาการนานาชาติ เพื่อสร้างความเสมอภาคทางการศึกษา ลดปัญหาความเหลื่อมล้ำในไทย
“ยูนิเซฟ” เรียกร้อง แก้ความยากจนครอบครัวที่มีเด็ก“ยูนิเซฟ" เรียกร้องไทย จัดการปัญหาความยากจนในครอบครัวที่มีเด็ก เนื่องในวันขจัดความยากจนสากล
นับถอยหลัง สัปดาห์สุดท้าย คัดกรองเด็กยากจน กทม.สัปดาห์นี้ เป็นสัปดาห์สุดท้ายแล้ว ที่โรงเรียนในสังกัด กทม.จะต้องคัดกรองเด็กยากจน และยากจนพิเศษ เพื่อทำให้เด็กกลุ่มนี้ เข้าถึง ทุนการศึกษา แก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา แต่หลายพื้นที่ ยังมีอุปสรรคในการเข้าถึงข้อมูลนักเรียน
ตั้งเป้าเด็กหลุดระบบการศึกษาเป็นศูนย์สิ้นปีนี้"พาน้องกลับมาเรียน" เป็นนโยบายหลักในการแก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาของรัฐบาล ที่ตั้งเป้าหมายไว้ว่า ภายในปี 2565 จะทำให้เด็กหลุดนอกระบบกลายเป็นศูนย์ วันนี้ (15 ก.ย.) กระทรวงศึกษาธิการ ออกมาแถลงว่า เหลือเด็กไม่ถึง 18,000 คน ที่ยังหาตัวไม่เจอ
เดินหน้า "สวนหลวงแซนด์บอกซ์" แก้เหลื่อมล้ำ กทม.กทม. เป็น 1 ใน 2 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่ยังไม่มีการคัดกรองนักเรียนในสังกัดของตนเพื่อรับ "ทุนเสมอภาค" มาก่อน แต่ผู้บริหารและสภา กทม.ชุดใหม่ เห็นความสำคัญและกำลังเดินหน้าสำรวจเพื่อทำให้เด็กๆ ที่มีฐานะยากจนเข้าถึงทุนนี้
แผนช่วยเด็กวิกฤต "ยะลา"“ยะลา” เป็นหนึ่งในจังหวัดชายแดนใต้ ที่มีเด็กนักเรียนยากจนและยากจนพิเศษ มากกว่า 30,000 คน ช่วง 3 ปีที่ อบจ.ยะลา เข้ามามีบทบาทประสานความร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ ได้มีการพัฒนากลไกทำงาน กระทั่งสามารถช่วยเด็กและเยาวชนด้อยโอกาส ทั้งในและนอกระบบ
เสนอ กทม.จัดตั้ง อสม.การศึกษาในแวดวงการศึกษา มีข้อสรุปแล้วว่า กทม. เป็นมหานครที่มีความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจและการศึกษาสูงที่สุดในประเทศ แต่การจะแก้ปัญหาก็ไม่ใช่เรื่องง่าย ถ้าไม่สามารถเข้าถึงและติดตามเด็กกลุ่มนี้ได้
50 ปี ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาไทยการศึกษาของไทย ในช่วง 50 ปีที่ผ่านมา ปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษายังคงฝังรากลึก เป็นปัญหาที่ไม่ได้รับการแก้ไขและไม่มีใครเห็นคุณค่า
“ผู้หญิง”เสาหลักครัวเรือนยากจนใน กทม.ความยากจนยังเป็นปัญหาใหญ่ที่ทำให้เด็กจำนวนไม่น้อยเสี่ยงหลุดจากระบบการศึกษา ไทยพีบีเอสติดตามชีวิตเด็กคนหนึ่ง เธอและครอบครัวพยายามอย่างหนักเพื่อให้มีโอกาสได้เรียนหนังสือ