เช็กผลประโยชน์ไทย ในข้อตกลง RCEP เตรียมพร้อม เริ่มต้นปีหน้าข้อตกลงการค้าเสรีที่มีการลงนามกันไป 15 ประเทศ หนึ่งในนั้นมีไทยรวมอยู่ด้วย ที่สร้างความฮือฮาเป็นอย่างมากคือ "RCEP" แล้วกำลังจะส่งผลอย่างไรต่อการค้า แล้วไทยควรได้รับประโยชน์จากข้อตกลงนี้มากน้องขนาดไหน ควรจะเตรียมตัวอย่างไร
เปิดเบื้องหลังวัคซีนมหัศจรรย์.... มาทันเวลาติดตามชม "คิดยกกำลัง 2" ในรายการ ที่นี่ Thai PBS วันจันทร์ที่ 30 พฤศจิกายน 2563 เวลา 22.30 - 22.40 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live
สะกิดให้ทำ.. ด้วยหลักพฤติกรรมศาสตร์ติดตามชม "คิดยกกำลัง 2" ในรายการ ที่นี่ Thai PBS วันจันทร์ที่ 23 พฤศจิกายน 2563 เวลา 22.30 - 22.40 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live
ระเบียบมีไว้ ต้องไม่ให้ขวางเรียนรู้ปัญหาเครื่องแบบและทรงผมของนักเรียน เป็นเรื่องที่เรารับรู้กันว่านักเรียนส่วนใหญ่ต่างแสดงถึงความไม่พอใจ จนกลายเป็นข้อเรียกร้องไปยังกระทรวงศึกษาธิการว่าจะต้องปรับรูปแบบกฎเกณฑ์เหล่านี้ด้วย แล้วแนวทางที่เหมาะสมจะมีอะไรบ้าง
ไบเดนชนะไม่ขาด เรื่องใดบ้างกระทบไทยการเลือกตั้งในสหรัฐอเมริกาได้ผ่านไปแล้ว และคนที่ได้รับชัยชนะกับตำแหน่งประธานาธิบดีคนที่ 46 ได้แก่ โจ ไบเดน ชัยชนะครั้งนี้จะมีความหมายอย่างไรต่อการเมืองในสหรัฐฯ และในระดับโลก
เพิ่มขีดความสามารถภาครัฐเก็บและเชื่อมข้อมูลการทำงานของภาครัฐมีความสำคัญอย่างมาก ถ้าสามารถเชื่อมโยงข้อมูลแล้วนำไปสู่การช่วยเหลือประชาชน รวมถึงการลดเหตุด่วน เหตุร้ายต่าง ๆ ได้ น่าจะทำให้เกิดประโยชน์กับประชาชนมากขึ้น สิ่งเหล่านี้จะมีความหมายอย่างไรต่อสังคมบ้าง
3 ขั้นตอน สร้างรัฐไทยให้สมาร์ต ช่วยพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานข้อมูลเพื่อที่จะเปลี่ยนความสามารถในการให้บริการของรัฐไทย ให้เข้าสู่โลกดิจิทัลมากขึ้น ควรจะทำอย่างไร แล้วจากความก้าวหน้าในเอสโตเนีย จะสามารถนำมาปรับใช้ในไทยได้อย่างไรบ้าง
ดิจิทัลแต่กำเนิดเกิดประเทศถ้าพูดถึงโลกในยุคดิจิทัลนี้ ในหลายประเทศมีความต้องการพัฒนาระบบต่าง ๆ เพื่อให้มีความทันสมัยต่อโลกยุคดิจิทัล สำหรับประเทศที่เกิดใหม่ อาจเป็นโอกาสดีในการนำประเทศเข้าสู่ระบบดิจิทัล แล้วเราจะได้เรียนรู้อะไรบ้างจากประเทศที่เกิดใหม่และทำได้สำเร็จ
เรียนรู้จากโควิด...หยุดโรคติดต่อทางสังคมในช่วงเวลาที่สังคมทั้งโลกกำลังต่อสู้กับโรคติดต่ออย่างโควิด-19 อีกด้านหนึ่งที่ไม่ควรมองข้ามคือโรคติดต่อทางสังคม ซึ่งจะมีความเกี่ยวข้องกับการใช้ชีวิตของคนในสังคมอย่างไร
พ่อแม่ไทยเลี้ยงลูกแบบไหนกัน ?แนวทางการเลี้ยงลูกในสังคมไทย โดยเฉพาะโรงเรียน ควรจะต้องปรับตัวอย่างไรกับการเลี้ยงดูเด็ก แล้วพ่อแม่เลี้ยงลูกในแนวทางใดบ้าง และควรจะต้องปรับตัวอย่างไรในการเลี้ยงลูกให้เหมาะสมกับยุคสมัย
เลี้ยงลูกอย่างไร ให้สำเร็จ ?ปัจจุบันโลกของเราเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว บุตรหลานรับรู้ข่าวสารต่าง ๆ ผ่านช่องทางที่หลากหลายมากขึ้น พ่อแม่จะต้องปรับตัวในการอบรมเลี้ยงดูบุตรหลานอย่างไรให้เข้ากับยุคสมัยที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
เครื่องแบบ - ทรงผม จำเป็นหรือไม่หนึ่งในคำถามที่สะท้อนมาจากนักเรียน คือประเด็นการควบคุมดูแลเรื่องทรงผมนักเรียนและการใส่เครื่องแบบนักเรียน สิ่งเหล่านี้ยังมีความจำเป็นมากน้อยแค่ไหน
รักวัวให้เฆี่ยน รักนักเรียนให้ตี ?ช่วงนี้เราจะได้เห็นภาพความเคลื่อนไหวของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ที่ออกมาตั้งคำถามถึงกฎเกณฑ์ต่าง ๆ รวมถึงการลงโทษนักเรียนด้วยไม้เรียวว่ายังมีความเหมาะสมกับยุคปัจจุบันนี้หรือไม่
ขายไข่ต้องขอใบอนุญาตหรือไม่หนึ่งในอาชีพของคนไทยที่เราคุ้นเคยอย่างการขายไข่ ที่กำลังมีกระแสข่าวว่าจะต้องทำการขอใบอนุญาตในการค้าขายไข่ด้วย เหตุใดทำไมถึงต้องมีการขออนุญาต แล้วประเด็นนี้จะมีความหมายต่อการค้าขายไข่อย่างไรบ้าง
ใช้อย่างไร...ไม่ให้ เอไอ พาเสียคน ?ในยุคนี้คงปฏิเสธไม่ได้ว่าเราจะต้องปรับตัวเพื่ออยู่ร่วมกับการประมวลผลที่มีทั้งความล้ำลึกและความก้าวหน้ามากขึ้นเรื่อย ๆ ผ่านสิ่งที่เรียกว่า "ปัญญาประดิษฐ์" หรือ "AI" แล้วมนุษยชาติจะใช้ AI ให้เกิดประโยชน์ได้อย่างไรบ้าง
ระวังบิ๊กดาต้า มหาประลัยการประมวลผลในโลกยุคเทคโนโลยีนั้น ต้องอาศัยฐานข้อมูลที่เรียกว่า "บิ๊กดาต้า" และอาศัยการทำงานของปัญญาประดิษฐ์ หรือ "AI" เข้ามาร่วมด้วย แต่สิ่งเหล่านี้อาจจะกำลังสร้างปัญหาที่เรานึกไม่ถึงมาก่อน
มหาวิทยาลัย สอนอย่างไรไม่ให้ตกงาน ?อีกหนึ่งโจทย์ที่มาพร้อมกับโควิด-19 คือการปรับเปลี่ยนรูปแบบการศึกษา เพราะงานที่กำลังรออยู่ก็มีการเปลี่ยนแปลงไปด้วยเช่นกัน แนวทางการศึกษาในระดับมหาวิทยาลัยควรจะต้องปรับตัวกันอย่างไร
ทำงานจากทางไกล เปลี่ยนโลกอย่างไร ?ในยุคของโควิด-19 มีการเชิญชวนให้ปรับตัวกับการทำงานจากที่บ้าน หรือ Work From Home เพื่อลดการแพร่เชื้อระหว่างกัน แต่อาจกลายเป็นการใช้ชีวิตแบบ New Normal ที่มีการทำงานจากที่บ้านเพิ่มมากขึ้นในอนาคต
วางแผนเผื่อใจ ถ้าโควิด-19 อยู่ยาวเมื่อพูดถึงสถานการณ์โควิด-19 ถือว่าเป็นสถานการณ์ที่ยังคงต้องเตรียมรับมือกันอยู่ และความหวังของใครหลายคนคงอยู่ที่วัคซีน ที่ยังไม่สามารถเกิดขึ้นได้ในอนาคตอันใกล้นี้ แล้วจะต้องปรับตัวอย่างไร เพื่อป้องกันและรับมือกับไวรัสชนิดนี้ให้ได้
เปลี่ยนแปลงสังคมรณรงค์แบบโรคระบาดโรคติดต่อที่กำลังถูกพูดถึงในช่วงนี้ คงหนีไม่พ้นโรคโควิด-19 แต่ในอีกมุมมองหนึ่งอาจมีคำถามว่า แล้วพวกเราจะร่วมกันสร้างพฤติกรรมที่ดีต่อการห่างไกลโรคโควิด-19 ต่อไปได้หรือไม่ เพื่อให้เป็นเหมือนกับโรคติดต่อทางสังคม
ละอองฟอง - Superbaker วงดนตรี 2 วง ที่มีแนวเพลงสุดมีเอกลักษณ์ นอกจากความคุ้นเคยแล้ว เส้นทางดนตรีของพวกเขายังมีจุดร่วม อย่างการได้ออกแสดงในเวทีเดียวกันอีกด้วย
ฟิล์ม บงกช, ต้น ธนษิต และ จิ๋ว ปิยนุช สามนักร้องดังที่แจ้งเกิดจาก 3 เวทีประกวด ก้าวสู่การเป็นศิลปินมืออาชีพ ที่เป็นที่รู้จักในวงการบันเทิงไทย กว่าจะมีวันนี้ เส้นทางของพวกเขาเป็นอย่างไร มาดูกัน
การกลับมาของ Linkin Park พร้อมกับนักร้องนำคนใหม่อย่าง Emily Armstrong สร้างความฮือฮาในกลุ่มแฟนเพลงของ Linkin Park อย่างมาก สำหรับแฟนเพลงแล้ว เธอไม่ได้มาแทนที่ Chester Bennington แต่เธอคือตัวเลือกที่ดีที่เข้ามาเสริมทัพให้กับก้าวใหม่ที่ต้องไปต่อ ของวงร็อกในตำนานวงนี้
วิเคราะห์เจาะลึกถึงประเด็นข่าวต่างประเทศ ในรายการทันโลก กับ Thai PBS วันที่ 14 พ.ย. 67 เวลา 21.00 น. ทางไทยพีบีเอส
ร่วมสนทนาประเด็น...บทบาทของอดีตนายกฯ ทักษิณ ในฐานะผู้ช่วยหาเสียงและการหวนคืนเวทีปราศรัยในรอบหลายปี การแข่งขันอย่างดุเดือดในสนามเลือกตั้งนายก อบจ. และประเมินยุทธศาสตร์บ้านใหญ่
รู้ลึกอย่างรอบด้านและเท่าทันทุกเหตุการณ์สำคัญในรายการข่าวค่ำ ออกอากาศวันจันทร์ - ศุกร์ เวลา 18.50 - 20.30 น. และ เสาร์ - อาทิตย์ เวลา 18.02 - 20.15 น. ทางไทยพีบีเอส
พบกับประเด็น...แฟนมีต "ลิซ่า" ดึงดูดแฟนต่างชาติเที่ยวไทย...นักแสดงอิสระและนักร้องเพลงร็อกในแบบของ "เมฆ จิรกิตติ์"
ชวนไปชิมขนมหมี่สิ แบบชาวกะเหรี่ยงแท้ๆ ในรายการลุยไม่รู้โรย ชมย้อนหลังได้ทาง www.thaipbs.or.th/program/Lui/episodes/94169
แลนด์มาร์คใหม่ริมทะเลสาบสงขลา สร้างพญานาค 7 เศียร ปู่ภุชงค์นาคราชและแม่ย่าทองคำ ที่วัดโคกเปี้ยว คาดเสร็จปลายปี 67
ของดีทั่วไทย พาไปชมงานฝีมือของชาวบ้านวังถั่ว ต.วังชัย อ.น้ำพอง จ.ขอนแก่น รวมกลุ่มสืบทอดอาชีพผลิตเครื่องปั้นดินเผา รูปแบบตามที่ลูกค้าต้องการส่งขายทั่วภาคอีสานในราคาย่อมเยา
หากคุณรักญี่ปุ่นถึงขั้นอยากมีบ้านในญี่ปุ่น ! ตามฟูจิเซ็นเซไปเจาะลึกเรื่องการซื้อบ้านในฟูกูโอกะ เรื่องจำเป็นต้องรู้ นอกเหนือจากราคาบ้าน ยังมีภาษีที่ดิน ภาษีอสังหาริมทรัพย์ และค่าใช้จ่ายรายปี รวมถึงเรื่องกฎหมายและเงื่อนไขที่แตกต่างจากการซื้อขายบ้านในไทย !
ฟูจิเซ็นเซจะพาไปเที่ยวชมออนเซ็นธรรมชาติราคาประหยัดในโออิตะ อาบสบายในน้ำแร่ธรรมชาติ แถมราคาถูกมาก ไม่ถึง 100 บาท ถูกใจทั้งคนญี่ปุ่น และนักท่องเที่ยว มาดูให้รู้ไปพร้อมกัน ???? ชมย้อนหลังรายการดูให้รู้ ได้ทาง www.thaipbs.or.th/Dohiru
พาออกตามหาเพื่อนใหม่ที่ย่าน "สายไหม" ครั้งนี้ได้พบกับเรื่องราวชีวิตที่ต้องสู้เพื่อปากท้อง และความน่ารักจากแม่ค้าของฝากอย่าง "พี่ตาล" ที่เปอร์-สุวิกรม ขอจีบกลางรายการ เรื่องราวจะเป็นอย่างไร
พาไปดูเบื้องหลังกองถ่ายรายการยินดีที่ได้รู้จัก กับความสนุกสนานและการทำงานที่ต้องแข่งกับเวลา และสภาพอากาศ มาลุ้นกันว่าพวกเขาจะเจอกับอะไรกันบ้าง
อยากเป็นวิศวกรเก่ง เรียนจบไว มีงานทำแน่นอน มาดูให้รู้กัน ! ฟูจิเซ็นเซจะพาไปรู้จักหลักสูตรวิศวกรรมจากญี่ปุ่นที่สถาบันโคเซ็น แห่ง สจล. ซึ่งมีความร่วมมือกับญี่ปุ่นมาอย่างแนบแน่น
ฟูจิเซ็นเซจะพาไปหาคำตอบที่ว่าคนญี่ปุ่นนับถือศาสนาหรือไม่ ? เพราะคนญี่ปุ่นส่วนใหญ่ที่ถูกถามเรื่องศาสนามักพูดว่าตัวเองไม่มีศาสนา แต่อาจรู้กันดีว่าศาสนานั้นอยู่ในใจ มาดูให้รู้ไปพร้อมกัน ชมย้อนหลังรายการดูให้รู้ ได้ทาง www.thaipbs.or.th/Dohiru
แหล่งอาหารที่น้อยลง ทำให้นกอีแอ่น ใน อ.ปากพนัง จ.นครศรีธรรมราช อพยพไปหาที่อยู่ใหม่ ส่งผลต่อเนื่องกับธุรกิจ “สร้างบ้านนก หรือคอนโดนก” กว่า 200 หลัง ที่ต้องกลายเป็นตึกร้าง บางหลังมีนกพิราบเข้ายึดครอง บางหลังเจ้าของพยายามประกาศขายแล้ว แต่ก็หาคนซื้อไม่ได้ กมลศักดิ์ เลิศไพบูลย์ อดีตประธานสมาคมผู้ประกอบการธุรกิจรังนกแอ่น(ประเทศไทย) เล่าว่า ปัจจัยทำให้นกอีแอ่นย้ายถิ่นหายไปจากอำเภอปากพนัง มีอยู่ 2 -3 ปัจจัย ปัจจัยแรก เกิดจากอิทธิพลพายุปลาบึก ซึ่งพัดขึ้นฝั่งที่จังหวัดนครศรีธรรมราช เมื่อปี 2562 หลังพายุสงบ พบฝูงนกอีแอ่นเริ่มหายไปจากอำเภอปากพนัง ปัจจัยต่อมา อาจเกิดจากแหล่งอาหารลดน้อยลง ทำให้นกบินไปหากินไกลมากขึ้น และไม่กลับพื้นที่
เสน่ห์และความสวยงามของธรรมชาติในชุมชนบ้านท่ามะปราง - คลองเพล หมู่บ้านท่องเที่ยววิถีชุมชน ทำให้ได้รับเลือกเป็นพื้นที่นำร่อง พัฒนาการท่องเที่ยวแบบ "Blue Zone" ผลักดันการท่องเที่ยว "เขาใหญ่" ให้เป็นเมืองท่องเที่ยว "สุขภาวะจิตที่ดี" โดยดึงคนในชุมชนมีส่วนร่วมไม่ว่าจะเป็นการผลิตอาหารปลอดภัยและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในชุมชน
พบกับประเด็น..."นกอีแอ่น" ย้ายถิ่นกระทบธุรกิจสร้างบ้านนก จ.นครศรีธรรมราช...หนอนหัวดำระบาดสวนมะพร้าว อ.สิชล จ.นครศรีธรรมราช
ชวนคุยประเด็นร้อน...เลื่อนโหวต "เพิ่มผู้บริหารแผนฟื้นฟูฯ การบินไทย" เป็น 29 พ.ย. 67 ส่วนเลือกตั้งบอร์ดแบงก์ชาติยังต้องลุ้น หลายฝ่ายหวั่นรัฐแทรกแซง ขณะที่ กมธ.ความมั่นคง เชิญผู้บริหาร รพ.ตำรวจ ชี้แจง "กรณีทักษิณรักษาตัวชั้น 14" แล้วเกาะกูดจะจบอย่างไร ? ด้านบิ๊กป้อมสั่งลุย "ยกเลิก MOU เกาะกูด"
กรณีกระแสวิพากษ์วิจารณ์ MOU44 ระหว่างไทย-กัมพูชา อาจทำให้ไทยเสียดินแดนทางทะเลหรือไม่ ซึ่งล่าสุด น.ส.แพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี เตรียมตั้งทีม JTC เพื่อเจรจา โดยคาดว่าจะมีความชัดเจนกลางเดือน พ.ย.นี้นั้น ทำไมกรณี MOU44 ยิ่งมีคนออกมาแสดงความคิดเห็นมากเท่าใด ยิ่งดีกับประเทศไทย ฟังวิเคราะห์จาก สุทธิชัย หยุ่น, อาจารย์วีระ ธีรภัทร และวิสุทธิ์ คมวัชรพงศ์
เป็นที่ทราบกันแล้วว่าผลการเลือก ประธานบอร์ดแบงก์ชาติ โดยคณะกรรมการสรรหามีมติเลือก นายกิตติรัตน์ ณ ระนอง เป็นประธานบอร์ดแบงก์ชาติ แทน นายปรเมธี วิมลศิริ ประธานกรรมการแบงก์ชาติคนล่าสุดสิ้นสุดวาระดำรงตำแหน่ง แต่กว่าจะมาถึงขั้นนี้นั้น มีกระแสข่าวมากมายเกิดขึ้น มีการต่อต้านจากนักเศรษฐศาสตร์ ว่ามีความกังวลที่ให้ฝ่ายการเมืองมารับตำแหน่งนี้
รายการสถานีประชาชน ไทยพีบีเอส ร่วมกับ กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์, สำนักงานตำรวจแห่งชาติ, สมาคมผู้ผลิตข่าวออนไลน์ และ บริษัท เทลสกอร์ จำกัด จัดรายการพิเศษ “Cyber Booster สร้างภูมิสู้ภัยไซเบอร์” พบกับการรวมตัวกันของ 8 ฮีโร่ทีม Cyber Booster
เปิดเบื้องหลังกว่าจะเป็น “มุกตลก” ในหนังพากย์ไทย คุยกับตำนาน “คนขายเสียง” ที่ยังมีลมหายใจ “ทีมพากย์พันธมิตร” ปริภัณฑ์ วัชรานนท์ (โต๊ะ พันธมิตร) หัวหน้าทีมพากย์พันธมิตร, เกรียงศักดิ์ เหรียญทอง (เกรียง พันธมิตร) และ สุภาพ ไชยวิสุทธิกุล (ติ่ง พันธมิตร)
เปิดชีวิตที่เกือบเอาตัวไม่รอดของนักพากษ์ระดับตำนาน "ทีมพันธมิตร" ทั้ง ปริภัณฑ์ วัชรานนท์ (โต๊ะ พันธมิตร) หัวหน้าทีมพากย์พันธมิตร, เกรียงศักดิ์ เหรียญทอง (เกรียง พันธมิตร) และ สุภาพ ไชยวิสุทธิกุล (ติ่ง พันธมิตร) กับเส้นทางกว่าจะประสบความสำเร็จจนเป็นที่ยอมรับ และการปรับตัวท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงของยุคสมัย
ย้อนฟังที่มาของมัสมั่น ในรายการในรอยรส ชมย้อนหลังได้ทาง www.thaipbs.or.th/program/TasteDetective/episodes/104232
นำเสนอความหลากหลายในศิลปะและวัฒนธรรม ถ่ายทอดเรื่องราว อุดมการณ์ จิตวิญญาณ ความมุ่งมั่นและตัวตนที่เป็นสุดยอดในศิลปะและวัฒนธรรมที่หลากหลาย
วัฒนธรรม ประเพณีที่ดีงาม ถูกสร้างขึ้นตั้งแต่บรรพบุรุษ และได้สืบต่อมาจนถึงปัจจุบัน นั่นคือ "ทุนทางวัฒนธรรม"
สรรค์สร้างความรู้ ศิลปะ วัฒนธรรม ดนตรี ออกเดินทางไปทั่วประเทศเพื่อถ่ายทอดเรื่องราวต่าง ๆ จากทุกภูมิภาค
สารคดีค้นหาเรื่องราวคนบนแผ่นดินที่เรียกว่าประเทศไทยในปัจจุบัน ตั้งแต่ประวัติศาสตร์ โบราณคดี วัฒนธรรม ภาษา ไปจนถึงในระดับพันธุกรรม DNA นำไปสู่ข้อมูลความรู้หลักฐานใหม่เพื่อตอบคำถามว่า "คนไทยคือใคร มาจากไหน" สารคดีเธอ เขา เรา ใคร สำรวจคนไทยในแผ่นดิน ออกอากาศทุกวันเสาร์ - อาทิตย์ เวลา 21.10 - 22.00 น. ทางไทยพีบีเอส