กับดักหนี้ของคนรุ่นใหม่การหาเงินก้อนใหม่ เพื่อมาจ่ายหนี้ก้อนเก่า หรือที่เราเรียกว่า “วงจรหนี้” จึงเกิดขึ้น แล้วการแก้ไขปัญหาดังกล่าวควรทำอย่างไร การปรับโครงสร้างหนี้จะช่วยได้อย่างไรบ้าง
“ทุนมนุษย์” ต้นทุนเศรษฐกิจที่ต้องทบทวนจากผลคะแนน PISA ที่ประเทศไทยแทบจะเป็นประเทศรั้งท้าย การพัฒนาทุนมนุษย์จึงเป็นสิ่งที่ต้องกลับมาทบทวนและให้ความสำคัญมากขึ้น
จับตาความสำเร็จ-จุดอ่อน ภาคส่งออกไทยในรอบ 30 ปีอุปสรรคในการส่งออกของไทยคืออะไร และเราจะร่วมแก้ไขปัญหาได้อย่างไรบ้าง ?
Gig Economy ระบบเศรษฐกิจพลิกชีวิตของคนรุ่นใหม่ความหมายของ Gig Economy คืออะไร มีข้อดี และข้อเสียอย่างไรบ้าง รวมถึงหลักประกันทางด้านการเงินในระยะยาว หากต้องเข้าสู่การทำงานในแบบ Gig Economy ต้องทำอย่างไร
ทางรอดอุตสาหกรรมไทย ในวันที่โลกเปลี่ยนหลายปีที่ผ่านมา ไทยส่งออกสินค้าหลายชนิดสูงเป็นอันดับต้น ๆ ของโลก แต่ปัจจุบันหลายกิจการได้รับผลกระทบจากค่าแรงที่สูงขึ้น มีการย้ายฐานการผลิต รวมถึงเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี เราจะปรับตัวเพื่อรับการเปลี่ยนแปลงนี้อย่างไร ?
เอกซเรย์อาชีพขับแท็กซี่ รายได้ดีจริงหรือ ?เอกซเรย์อาชีพขับแท็กซี่กันว่า ต้นทุนของรถแท็กซี่ 1 คันมีอะไรบ้าง บวกลบค่าใช้จ่ายต่อวันแล้ว เพียงพอต่อการดำเนินชีวิตหรือไม่
ต้นเหตุภาวะเงินเฟ้อ-ผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทยทำไมจึงเกิดภาวะเงินเฟ้อขึ้นในช่วงนี้ แล้วในแต่ละประเทศทำไมถึงมีเงินเฟ้อไม่เท่ากัน ?
ค่าเงินบาทอ่อน-แข็งมีผลกับเงินในกระเป๋าอย่างไร ?เมื่อติดตามข่าวเศรษฐกิจ เชื่อว่าหลายคนคงเคยได้ยินคำว่า “ค่าเงินบาทอ่อน-แข็ง” แล้วจริง ๆ มันมีความหมายว่าอย่างไร
เจาะปัญหาราคาข้าว ทำไมชาวนายิ่งทำยิ่งจน ?ราคาข้าวเปลือกที่ชาวนาได้รับในตอนนี้เหมาะสมหรือไม่ รวมถึงต้นทุนการปลูกข้าวต่อไร่ที่มีราคาสูงขึ้น ทำให้ได้รับผลกำไรน้อยลงไปด้วยจริงหรือไม่ หาคำตอบในรายการวันนี้
เคลียร์ข้อสงสัย ค่าน้ำมันเชื้อเพลิงไทยทำไมถึงแพง ?โครงสร้างค่าน้ำมันที่คนไทยต้องจ่ายเมื่อเติมน้ำมันในแต่ละครั้งประกอบไปด้วยอะไรบ้าง รวมไปถึงกองทุนน้ำมันมีความสำคัญอย่างไร ?
หวย-สลากกินแบ่งรัฐบาล โอกาสและความเสี่ยงของคนไทยหากเราไม่ซื้อหวย ตลอดระยะเวลา 50 ปี จะสามารถเปลี่ยนมาเป็นเงินออมได้เป็นจำนวนเท่าไหร่ ?
เปิดประเทศ จุดเปลี่ยนธุรกิจท่องเที่ยวหลังโควิด-19หลังจากทางภาครัฐได้มีนโยบายเปิดประเทศ ธุรกิจท่องเที่ยวก็เริ่มกลับมาฟื้นตัว จุดเปลี่ยนสำคัญหลังจากนี้ ภาครัฐและผู้ประกอบการควรเตรียมความพร้อมอย่างไร
กับดักรายได้ปานกลาง ประเทศไทยจะก้าวข้ามอย่างไร ?เชื่อว่าหลายคนคงเคยได้ยินมาว่า ประเทศไทยจัดอยู่ในประเทศที่มีรายได้ปานกลาง แล้วอะไรคือนิยามของคำว่า “ประเทศที่มีรายได้ปานกลาง”
รู้หรือไม่ “คน Gen ไหน เป็นหนี้มากที่สุด”เมื่อแบ่งตามกลุ่มช่วงอายุแล้วจะพบว่าช่วงอายุ 22-41 ปี หรือ Gen Y มีอัตราหนี้สิน และหนี้เสียเยอะที่สุด เพราะอะไรถึงเป็นเช่นนั้น
หนทางเยียวยาในภาวะเศรษฐกิจหยุดนิ่งสินค้ามีราคาที่แพงขึ้น แต่เงินในกระเป๋าของเรายังเท่าเดิม ภาวะแบบนี้เรียกว่า “ภาวะเงินเฟื้อ” โดยเกิดขึ้นในทุกประเทศทั่วโลก ภาวะแบบนี้เกิดขึ้นได้อย่างไร การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 และการสู้รบระหว่างรัสเซีย-ยูเครน มีส่วนทำให้เกิดภาวะดังกล่าวหรือไม่
ไขข้อข้องใจ ทำไมค่าวินมอเตอร์ไซค์ถึงแพงเคยสังเกตกันไหมว่า ทำไมการเดินทางด้วยวินมอเตอร์ไซค์ถึงมีราคาที่แพงกว่าการเดินทางด้วยรถแท็กซี่ ?
“Big Data” กับการพัฒนา Smart Cityจะดีแค่ไหนถ้าหากการนำ Big Data มาทำให้เศรษฐกิจและคุณภาพของประชาชนดีขึ้นด้วย ?
โอกาสทางเศรษฐกิจ เมื่อความเจริญกระจายสู่ภูมิภาคจะดีแค่ไหนถ้าหากทางภาครัฐ สามารถกระจายความเจริญไปสู่ภูมิภาค ทำให้เศรษฐกิจและรายได้ของประชาชนในแต่ละพื้นที่เพิ่มขึ้น
เบื้องหลังราคาปุ๋ยแพง-ต้นทุนสินค้าเกษตรพุ่งราคาปุ๋ยเคมีที่จะต้องนำเข้าจากต่างประเทศ ปรับราคาสูงขึ้นกว่าเท่าตัวเมื่อเปรียบเทียบกับ 2-3 ปีก่อน ไม่เว้นแม้แต่ปุ๋ยอินทรีย์ที่ผลิตได้ในประเทศ ราคาก็พุ่งสูงขึ้นเช่นกัน ทำไมถึงเป็นเช่นนั้น ?
ถอดรหัสหนี้ครัวเรือน จุดเปราะบางของเศรษฐกิจไทยหนี้ครัวเรือนที่ว่านี้เกิดจากอะไร แล้วทำไมระดับหนี้ครัวเรือนของไทยจึงสูงเช่นนั้น
ละอองฟอง - Superbaker วงดนตรี 2 วง ที่มีแนวเพลงสุดมีเอกลักษณ์ นอกจากความคุ้นเคยแล้ว เส้นทางดนตรีของพวกเขายังมีจุดร่วม อย่างการได้ออกแสดงในเวทีเดียวกันอีกด้วย
ฟิล์ม บงกช, ต้น ธนษิต และ จิ๋ว ปิยนุช สามนักร้องดังที่แจ้งเกิดจาก 3 เวทีประกวด ก้าวสู่การเป็นศิลปินมืออาชีพ ที่เป็นที่รู้จักในวงการบันเทิงไทย กว่าจะมีวันนี้ เส้นทางของพวกเขาเป็นอย่างไร มาดูกัน
การกลับมาของ Linkin Park พร้อมกับนักร้องนำคนใหม่อย่าง Emily Armstrong สร้างความฮือฮาในกลุ่มแฟนเพลงของ Linkin Park อย่างมาก สำหรับแฟนเพลงแล้ว เธอไม่ได้มาแทนที่ Chester Bennington แต่เธอคือตัวเลือกที่ดีที่เข้ามาเสริมทัพให้กับก้าวใหม่ที่ต้องไปต่อ ของวงร็อกในตำนานวงนี้
พบกับประเด็น..."ลิซ่า" ทำเกินแฟนมีต ขอบคุณที่ไม่ทิ้งหนู...ซ้อมละครเร่พ่อครูพิเชษฐ เล่าเรื่องเมืองอัศวิน "เงาะรจนา"
พบกับประเด็น...แปรงฟันไม่ถูกวิธีเสี่ยงมะเร็งช่องปากจริงหรือไม่ ?...ได้คุ้มเสียหรือไม่ หากไทยขึ้นภาษี VAT...Awakening Bangkok เทศกาลศิลปะฮีลใจ ปลุกไฟย่าน เติมไฟคน
ในประเทศไทยมีคนพิการอยู่ประมาณ 4.2 ล้านคน แต่มีงานวิจัยที่ชี้ชัดว่าในจำนวนนี้มีไม่ถึงครึ่งหนึ่ง ที่ได้รับการช่วยเหลือจากภาครัฐ จะทำอย่างไรให้คนกลุ่มนี้มีชีวิตที่ดีขึ้น แล้วต้องพิการแค่ไหน รัฐถึงจะมองเห็นความสำคัญของเรื่องนี้
เมื่อไต้หวันไม่ต้องการถูกจีนครอบครองและมีสหรัฐฯ เป็นพันธมิตร แรงกดดันทางการทหารจากจีนที่ทวีความแข็งกร้าวขึ้นเรื่อย ๆ จึงอาจทำให้ความขัดแย้งปะทุขึ้นที่นี่
วิเคราะห์เจาะลึกถึงประเด็นข่าวต่างประเทศ ในรายการทันโลก กับ Thai PBS วันที่ 12 พ.ย. 67 เวลา 21.00 น. ทางไทยพีบีเอส
ร่วมสนทนาประเด็น...กรณีศาลปกครองสูงสุดพิจารณาคำร้องของ พล.ต.อ.สุรเชชษฐ์ หักพาล ออกจากราชการไว้ก่อนชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ แนวโน้มการหวนคืนสู่เก้าอี้ รอง ผบ.ตร. และผลต่อการออกคำสั่งอย่างใดอย่างหนึ่งในอนาคต
รู้ลึกอย่างรอบด้านและเท่าทันทุกเหตุการณ์สำคัญในรายการข่าวค่ำ ออกอากาศวันจันทร์ - ศุกร์ เวลา 18.50 - 20.30 น. และ เสาร์ - อาทิตย์ เวลา 18.02 - 20.15 น. ทางไทยพีบีเอส
ชวนไปชิมขนมหมี่สิ แบบชาวกะเหรี่ยงแท้ๆ ในรายการลุยไม่รู้โรย ชมย้อนหลังได้ทาง www.thaipbs.or.th/program/Lui/episodes/94169
ของดีทั่วไทย พาไปชมงานฝีมือของชาวบ้านวังถั่ว ต.วังชัย อ.น้ำพอง จ.ขอนแก่น รวมกลุ่มสืบทอดอาชีพผลิตเครื่องปั้นดินเผา รูปแบบตามที่ลูกค้าต้องการส่งขายทั่วภาคอีสานในราคาย่อมเยา
แลนด์มาร์คใหม่ริมทะเลสาบสงขลา สร้างพญานาค 7 เศียร ปู่ภุชงค์นาคราชและแม่ย่าทองคำ ที่วัดโคกเปี้ยว คาดเสร็จปลายปี 67
หากคุณรักญี่ปุ่นถึงขั้นอยากมีบ้านในญี่ปุ่น ! ตามฟูจิเซ็นเซไปเจาะลึกเรื่องการซื้อบ้านในฟูกูโอกะ เรื่องจำเป็นต้องรู้ นอกเหนือจากราคาบ้าน ยังมีภาษีที่ดิน ภาษีอสังหาริมทรัพย์ และค่าใช้จ่ายรายปี รวมถึงเรื่องกฎหมายและเงื่อนไขที่แตกต่างจากการซื้อขายบ้านในไทย !
ฟูจิเซ็นเซจะพาไปเที่ยวชมออนเซ็นธรรมชาติราคาประหยัดในโออิตะ อาบสบายในน้ำแร่ธรรมชาติ แถมราคาถูกมาก ไม่ถึง 100 บาท ถูกใจทั้งคนญี่ปุ่น และนักท่องเที่ยว มาดูให้รู้ไปพร้อมกัน ???? ชมย้อนหลังรายการดูให้รู้ ได้ทาง www.thaipbs.or.th/Dohiru
พาออกตามหาเพื่อนใหม่ที่ย่าน "สายไหม" ครั้งนี้ได้พบกับเรื่องราวชีวิตที่ต้องสู้เพื่อปากท้อง และความน่ารักจากแม่ค้าของฝากอย่าง "พี่ตาล" ที่เปอร์-สุวิกรม ขอจีบกลางรายการ เรื่องราวจะเป็นอย่างไร
พาไปดูเบื้องหลังกองถ่ายรายการยินดีที่ได้รู้จัก กับความสนุกสนานและการทำงานที่ต้องแข่งกับเวลา และสภาพอากาศ มาลุ้นกันว่าพวกเขาจะเจอกับอะไรกันบ้าง
อยากเป็นวิศวกรเก่ง เรียนจบไว มีงานทำแน่นอน มาดูให้รู้กัน ! ฟูจิเซ็นเซจะพาไปรู้จักหลักสูตรวิศวกรรมจากญี่ปุ่นที่สถาบันโคเซ็น แห่ง สจล. ซึ่งมีความร่วมมือกับญี่ปุ่นมาอย่างแนบแน่น
ฟูจิเซ็นเซจะพาไปเที่ยวชมออนเซ็นธรรมชาติราคาประหยัดในโออิตะ อาบสบายในน้ำแร่ธรรมชาติ แถมราคาถูกมาก ไม่ถึง 100 บาท ถูกใจทั้งคนญี่ปุ่น และนักท่องเที่ยว มาดูให้รู้ไปพร้อมกัน ???? ชมย้อนหลังรายการดูให้รู้ ได้ทาง www.thaipbs.or.th/Dohiru
เสน่ห์และความสวยงามของธรรมชาติในชุมชนบ้านท่ามะปราง - คลองเพล หมู่บ้านท่องเที่ยววิถีชุมชน ทำให้ได้รับเลือกเป็นพื้นที่นำร่อง พัฒนาการท่องเที่ยวแบบ "Blue Zone" ผลักดันการท่องเที่ยว "เขาใหญ่" ให้เป็นเมืองท่องเที่ยว "สุขภาวะจิตที่ดี" โดยดึงคนในชุมชนมีส่วนร่วมไม่ว่าจะเป็นการผลิตอาหารปลอดภัยและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในชุมชน
แหล่งอาหารที่น้อยลง ทำให้นกอีแอ่น ใน อ.ปากพนัง จ.นครศรีธรรมราช อพยพไปหาที่อยู่ใหม่ ส่งผลต่อเนื่องกับธุรกิจ “สร้างบ้านนก หรือคอนโดนก” กว่า 200 หลัง ที่ต้องกลายเป็นตึกร้าง บางหลังมีนกพิราบเข้ายึดครอง บางหลังเจ้าของพยายามประกาศขายแล้ว แต่ก็หาคนซื้อไม่ได้ กมลศักดิ์ เลิศไพบูลย์ อดีตประธานสมาคมผู้ประกอบการธุรกิจรังนกแอ่น(ประเทศไทย) เล่าว่า ปัจจัยทำให้นกอีแอ่นย้ายถิ่นหายไปจากอำเภอปากพนัง มีอยู่ 2 -3 ปัจจัย ปัจจัยแรก เกิดจากอิทธิพลพายุปลาบึก ซึ่งพัดขึ้นฝั่งที่จังหวัดนครศรีธรรมราช เมื่อปี 2562 หลังพายุสงบ พบฝูงนกอีแอ่นเริ่มหายไปจากอำเภอปากพนัง ปัจจัยต่อมา อาจเกิดจากแหล่งอาหารลดน้อยลง ทำให้นกบินไปหากินไกลมากขึ้น และไม่กลับพื้นที่
พบกับประเด็น..."นกอีแอ่น" ย้ายถิ่นกระทบธุรกิจสร้างบ้านนก จ.นครศรีธรรมราช...หนอนหัวดำระบาดสวนมะพร้าว อ.สิชล จ.นครศรีธรรมราช
ชวนคุยประเด็นร้อน...เลื่อนโหวต "เพิ่มผู้บริหารแผนฟื้นฟูฯ การบินไทย" เป็น 29 พ.ย. 67 ส่วนเลือกตั้งบอร์ดแบงก์ชาติยังต้องลุ้น หลายฝ่ายหวั่นรัฐแทรกแซง ขณะที่ กมธ.ความมั่นคง เชิญผู้บริหาร รพ.ตำรวจ ชี้แจง "กรณีทักษิณรักษาตัวชั้น 14" แล้วเกาะกูดจะจบอย่างไร ? ด้านบิ๊กป้อมสั่งลุย "ยกเลิก MOU เกาะกูด"
กรณีกระแสวิพากษ์วิจารณ์ MOU44 ระหว่างไทย-กัมพูชา อาจทำให้ไทยเสียดินแดนทางทะเลหรือไม่ ซึ่งล่าสุด น.ส.แพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี เตรียมตั้งทีม JTC เพื่อเจรจา โดยคาดว่าจะมีความชัดเจนกลางเดือน พ.ย.นี้นั้น ทำไมกรณี MOU44 ยิ่งมีคนออกมาแสดงความคิดเห็นมากเท่าใด ยิ่งดีกับประเทศไทย ฟังวิเคราะห์จาก สุทธิชัย หยุ่น, อาจารย์วีระ ธีรภัทร และวิสุทธิ์ คมวัชรพงศ์
เป็นที่ทราบกันแล้วว่าผลการเลือก ประธานบอร์ดแบงก์ชาติ โดยคณะกรรมการสรรหามีมติเลือก นายกิตติรัตน์ ณ ระนอง เป็นประธานบอร์ดแบงก์ชาติ แทน นายปรเมธี วิมลศิริ ประธานกรรมการแบงก์ชาติคนล่าสุดสิ้นสุดวาระดำรงตำแหน่ง แต่กว่าจะมาถึงขั้นนี้นั้น มีกระแสข่าวมากมายเกิดขึ้น มีการต่อต้านจากนักเศรษฐศาสตร์ ว่ามีความกังวลที่ให้ฝ่ายการเมืองมารับตำแหน่งนี้
รายการสถานีประชาชน ไทยพีบีเอส ร่วมกับ กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์, สำนักงานตำรวจแห่งชาติ, สมาคมผู้ผลิตข่าวออนไลน์ และ บริษัท เทลสกอร์ จำกัด จัดรายการพิเศษ “Cyber Booster สร้างภูมิสู้ภัยไซเบอร์” พบกับการรวมตัวกันของ 8 ฮีโร่ทีม Cyber Booster
เปิดชีวิตที่เกือบเอาตัวไม่รอดของนักพากษ์ระดับตำนาน "ทีมพันธมิตร" ทั้ง ปริภัณฑ์ วัชรานนท์ (โต๊ะ พันธมิตร) หัวหน้าทีมพากย์พันธมิตร, เกรียงศักดิ์ เหรียญทอง (เกรียง พันธมิตร) และ สุภาพ ไชยวิสุทธิกุล (ติ่ง พันธมิตร) กับเส้นทางกว่าจะประสบความสำเร็จจนเป็นที่ยอมรับ และการปรับตัวท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงของยุคสมัย
เปิดเบื้องหลังกว่าจะเป็น “มุกตลก” ในหนังพากย์ไทย คุยกับตำนาน “คนขายเสียง” ที่ยังมีลมหายใจ “ทีมพากย์พันธมิตร” ปริภัณฑ์ วัชรานนท์ (โต๊ะ พันธมิตร) หัวหน้าทีมพากย์พันธมิตร, เกรียงศักดิ์ เหรียญทอง (เกรียง พันธมิตร) และ สุภาพ ไชยวิสุทธิกุล (ติ่ง พันธมิตร)
ย้อนฟังที่มาของมัสมั่น ในรายการในรอยรส ชมย้อนหลังได้ทาง www.thaipbs.or.th/program/TasteDetective/episodes/104232
นำเสนอความหลากหลายในศิลปะและวัฒนธรรม ถ่ายทอดเรื่องราว อุดมการณ์ จิตวิญญาณ ความมุ่งมั่นและตัวตนที่เป็นสุดยอดในศิลปะและวัฒนธรรมที่หลากหลาย
วัฒนธรรม ประเพณีที่ดีงาม ถูกสร้างขึ้นตั้งแต่บรรพบุรุษ และได้สืบต่อมาจนถึงปัจจุบัน นั่นคือ "ทุนทางวัฒนธรรม"
สรรค์สร้างความรู้ ศิลปะ วัฒนธรรม ดนตรี ออกเดินทางไปทั่วประเทศเพื่อถ่ายทอดเรื่องราวต่าง ๆ จากทุกภูมิภาค
สารคดีค้นหาเรื่องราวคนบนแผ่นดินที่เรียกว่าประเทศไทยในปัจจุบัน ตั้งแต่ประวัติศาสตร์ โบราณคดี วัฒนธรรม ภาษา ไปจนถึงในระดับพันธุกรรม DNA นำไปสู่ข้อมูลความรู้หลักฐานใหม่เพื่อตอบคำถามว่า "คนไทยคือใคร มาจากไหน" สารคดีเธอ เขา เรา ใคร สำรวจคนไทยในแผ่นดิน ออกอากาศทุกวันเสาร์ - อาทิตย์ เวลา 21.10 - 22.00 น. ทางไทยพีบีเอส