ข้าวบรรจุกล่องพร้อมรับประทาน หุงด้วยน้ำมันจริงหรือไม่ ?ข้าวบรรจุกล่องในร้านสะดวกซื้อ มีการทดลองพบว่าในข้าวมีน้ำมัน ทำให้เกิดคำถามว่าเป็นการหุงข้าวด้วยน้ำมันจริงหรือไม่
คู่สมรสแต่งงานซ้อน - จดทะเบียนซ้ำ ต้องฟ้องอย่างไรกรณีของสามีที่จดทะเบียนสมรสแล้ว ไปแต่งงานกับผู้หญิงคนอื่น ในทางกฎหมายจะมีความผิดใดบ้าง แล้วการแต่งงานซ้อน แม้ไม่จดทะเบียนสมรส ถือว่ามีความผิดจริงหรือไม่
ระวังกลโกงพัสดุเก็บเงินปลายทางเตือนภัยจากการซื้อของออนไลน์ด้วยการเก็บเงินปลายทาง ที่อาจกลายเป็นช่องทางหลอกเก็บเงินจากมิจฉาชีพโดยไม่รู้ตัว
น้ำมะพร้าวช่วยเพิ่มสมรรถภาพทางเพศ ลดอาการวัยทองได้จริงหรือ ?น้ำมะพร้าว ที่หลายคนพูดถึงทั้งเรื่องช่วยเพิ่มสมรรถภาพทางเพศ บำรุงผิว และลดอาการวัยทอง แล้วสรรพคุณทั้งหมดนี้จะเป็นเรื่องจริงหรือไม่
ออกกำลังกายก่อนรับประทานอาหารเช้า เผาผลาญไขมันได้ 2 เท่าจริงหรือ ?ทำไมบางคนถึงต้องตื่นมาออกกำลังกายก่อนรับประทานอาหารเช้า ทำแล้วจะช่วยเผาผลาญไขมันได้ 2 เท่า จริงหรือไม่
ลงทุนพันธบัตรออมทรัพย์ เสี่ยงหรือไม่การลงทุนในพันธบัตรจะมีความเสี่ยงหรือไม่ ถ้าเสี่ยงจะเสี่ยงมากน้อยแค่ไหน แล้วการลงทุนลักษณะนี้เหมาะกับทุกคนหรือไม่
รับประทานชาบู ช่วยชะลอวัยได้จริงหรือ ?การรับประทานชาบู จะช่วยชะลอวัยได้จริงหรือไม่ เพราะวัตถุดิบในชาบูมีทั้งผัก, เนื้อสัตว์ติดมัน, เบคอน รวมถึงชีสด้วย
สารตกค้างจากโรคพืชในมะนาว อันตรายจริงหรือ ?สารสีฟ้าที่อยู่บนขั้ว หรือผิวของมะนาว อันตรายหรือไม่ แล้วสารนี้เป็นสารเคมี หรือเป็นเพียงโรคในพืชทั่วไป ?
นวัตกรรมหน้ากากผ้าเปลี่ยนสีเมื่อมีไข้สูงจากหน้ากากผ้าธรรมดาที่เราใช้ปกป้องตัวเองจากฝุ่นควัน รวมถึงเชื้อโรคต่าง ๆ แต่จะดีแค่ไหน ถ้าต่อไปหน้ากากผ้าจะสามารถบอกได้ว่าผู้ที่สวมใส่อยู่อาจมีอาการของโรค
อันตราย! จากครีมกวน อ้างทาแล้วหน้าขาวใสมีการรีวิวครีมกระปุก อ้างช่วยผิวขาวใส แต่จากการตรวจสอบของ อย. พบว่าเป็นครีมเถื่อนและไม่มีเลขจดแจ้ง การใช้ครีมกวนเอง ที่ไม่มีมาตรฐานรองรับจะอันตรายแค่ไหน
น้ำประปาเค็ม หากบริโภคอันตรายจริงหรือ ?จากรสชาติของน้ำประปาที่มีรสเค็มในช่วงนี้ หากนำน้ำไปบริโภคและอุปโภค จะมีอันตรายต่อผู้ใช้น้ำหรือไม่
ทำไมผู้ป่วยโรค NCDs ต้องได้รับวัคซีนโควิด-19 เป็นกลุ่มแรกตามแผนการฉีดวัคซีนโควิด-19 ล็อตแรกให้คนไทย ที่กระทรวงสาธารณสุขระบุไว้ ทำไมผู้ที่มีโรคประจำตัวในกลุ่ม NCDs ถึงได้รับวัคซีนเป็นกลุ่มแรก
อาหารจากกัญชากินได้ไม่เกินวันละ 5-8 ใบ จริงหรือ ?อาหารที่มีส่วนประกอบของกัญชา ผู้บริโภคกินได้ไม่เกินวันละกี่ใบ แล้วใบกัญชาช่วยเพิ่มรสชาติได้จริงหรือไม่
เปิดขั้นตอนยกเลิก - เลื่อนตั๋วเที่ยวบิน อย่างไรให้คุ้มค่าแม้ว่าในช่วงวิกฤตโควิด-19 หลายพื้นที่จะผ่อนคลายมาตรการ แต่หลายคนเลือกที่จะงดการเดินทาง หรือเลื่อนการเดินทางออกไปก่อน เพื่อร่วมกันยับยั้งการแพร่ระบาดของโควิด-19 แต่การขอเลื่อนเที่ยวบินนั้นจะมีขั้นตอนและเงื่อนไขอย่างไรบ้าง
ติดเชื้อโควิด-19 ในร่างกาย 5 เปอร์เซ็นต์ เป็นไปได้หรือไม่กรณีที่ผู้ป่วยโควิด-19 ระบุว่าพบเชื้อโควิด-19 ในร่างกายประมาณ 5 เปอร์เซ็นต์ แล้วการตรวจหาเชื้อโควิด-19 ในร่างกาย สามารถคิดเป็นเปอร์เซ็นต์ได้จริงหรือไม่
มือเท้าใหญ่ผิดปกติ เสี่ยง "โรคอะโครเมกาลี" ?โรคอะโครเมกาลีจะแสดงอาการอย่างไร คนที่มือเท้าใหญ่ผิดปกติจะเสี่ยงเป็นโรคนี้จริงหรือไม่
สารสกัดแสมทะเล แก้อาการผมร่วงได้จริงหรือ ?ปัญหาผมร่วงเกิดจากปัจจัยใดบ้าง แล้วสารสกัดจากแสมทะเลจะช่วยแก้ผมร่วงได้จริงหรือไม่
หนอนตัวแบนนิวกินี เอเลียนสปีชีส์อันตรายแค่ไหนหนอนตัวแบนนิวกินีจะมีอันตรายอย่างไร และกำจัดได้ด้วยวิธีใดบ้าง
ถั่งเช่า ยารักษาโรคหรือแค่อาหารเสริม ?ผลิตภัณฑ์ถั่งเช่า เป็นประเด็นที่มีการพูดถึงอย่างต่อเนื่อง ผู้บริโภคตัดสินใจเลือกเพราะโฆษณาอ้างว่ามีสรรพคุณมากมาย ซึ่งทาง กสทช. และ อย. ออกมาระบุว่ามีการอ้างสรรพคุณและโฆษณาเกินจริง แล้วถั่งเช่าจะเป็นยารักษาโรค หรือแค่อาหารเสริม ?
บุคคลทั่วไปมีสิทธิโบกรถให้สัญญาณจราจรหรือไม่บุคคลทั่วไป ที่ไม่ใช้ตำรวจจราจร มีสิทธิที่จะโบกรถเข้า - ออกสถานที่ตามกฎหมายหรือไม่
ละอองฟอง - Superbaker วงดนตรี 2 วง ที่มีแนวเพลงสุดมีเอกลักษณ์ นอกจากความคุ้นเคยแล้ว เส้นทางดนตรีของพวกเขายังมีจุดร่วม อย่างการได้ออกแสดงในเวทีเดียวกันอีกด้วย
ฟิล์ม บงกช, ต้น ธนษิต และ จิ๋ว ปิยนุช สามนักร้องดังที่แจ้งเกิดจาก 3 เวทีประกวด ก้าวสู่การเป็นศิลปินมืออาชีพ ที่เป็นที่รู้จักในวงการบันเทิงไทย กว่าจะมีวันนี้ เส้นทางของพวกเขาเป็นอย่างไร มาดูกัน
การกลับมาของ Linkin Park พร้อมกับนักร้องนำคนใหม่อย่าง Emily Armstrong สร้างความฮือฮาในกลุ่มแฟนเพลงของ Linkin Park อย่างมาก สำหรับแฟนเพลงแล้ว เธอไม่ได้มาแทนที่ Chester Bennington แต่เธอคือตัวเลือกที่ดีที่เข้ามาเสริมทัพให้กับก้าวใหม่ที่ต้องไปต่อ ของวงร็อกในตำนานวงนี้
การเติบโตทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นอย่างก้าวกระโดดของพื้นที่ ติดตามมาด้วยสิ่งที่คนภาคตะวันออกต้องแบกรับ ทั้งวิถีชีวิตของชุมชนท้องถิ่นที่กำลังเลือนหาย อาชีพประมงและเกษตรกรรมลดลง ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมได้รับความเสียหายและเสื่อมโทรมลง สิ่งเหล่านี้เป็นผลกระทบที่เกิดทั้งทางตรงและทางอ้อม นี่คือข้อท้าทายที่คนในพื้นที่ห่วงกังวล
ชวนไปพบกับเพื่อนใหม่ที่ “อำเภอบ้านแหลม” จ.เพชรบุรี ครั้งนี้เราได้สัมผัสวิถีชีวิตทั้งแบบเมืองและวิถีประมง และยังบังเอิญได้พบกับ “ป้าทองย้อย-ป้าน้ำผึ้ง” บ้านหลังสุดท้ายแห่งบ้านแหลมที่ยังทำกุ้งแห้ง เรื่องราวจะเป็นอย่างไร
นำวัตถุดิบตามฤดูกาล มาทำอาหารพื้นถิ่นตรังจานอร่อย อย่าง แกงส้มยอดส้มป่อยใส่ปลาแห้ง ที่ยอดส้มป่อยให้รสเปรี้ยวแบบธรรมชาติ และทำแกงกะทิสดหน่อไม้ ใส่สะตอและกุ้งสด
เปิดเวทีเจอคนลูกทุ่งรุ่นใหญ่ ฟีเจอริ่ง ลูกหลานลูกทุ่งเยาวชน ส่งต่อเพลงเก่ารุ่นปู่ย่า ประสานเสียงลูกคอสองวัย
เรื่องราวของ "ทาทา" อดีตสาวไซด์ไลน์ ที่เดินหน้าทำงานเพื่อพี่น้องไร้บ้าน เพราะครั้งหนึ่งเธอเคยกลายเป็นคนไร้บ้าน ทำให้เธอเข้าใจหัวอก หัวใจของพี่น้องไร้บ้านเป็นอย่างดี วันนี้ทาทาผันตัวมาทำงานเป็นจิตอาสาดูแลช่วยเหลือพี่น้องไร้บ้าน เพื่อให้พี่น้องไร้บ้านได้เข้าถึงสิทธิขั้นพื้นฐาน
จากข่าว องุ่นไชน์มัสแคท ผลไม้ยอดนิยม ที่มีวางขายทั้งราคาถูก และราคาแพง ตรวจพบสารพิษตกค้างเกินค่าที่กฎหมายกำหนด และสารพิษอื่นที่ไม่อยู่ในบัญชี ขยายสู่ภาพใหญ่ ว่าความปลอดภัยของผู้บริโภค มีมากน้อยแค่ไหน มาตรฐานอาหารที่เราได้รับประทานในทุก ๆ วัน นั้นดีพอหรือไม่
ชวนคุยประเด็นร้อน...ทักษิณเผย แจกเงินหมื่นระลอก 2 กลุ่มสูงอายุเกิน 60 ปี พร้อมมั่นใจ "เลือกตั้งครั้งหน้า" เพื่อไทยไม่ต่ำกว่า 200 แล้วมาวิเคราะห์ทักษิณลงพื้นที่ช่วยหาเสียง "เลือกตั้งนายกฯ อบจ. อุดรธานี ไปดูการเลือกประธานบอร์ดแบงก์ชาติเคาะแล้ว รอชง ครม. อนุมัติ และประเด็น "ที่ดินเขากระโดง" ศึกภายในพรรคร่วมรัฐบาล
ชวนไปชิมขนมหมี่สิ แบบชาวกะเหรี่ยงแท้ๆ ในรายการลุยไม่รู้โรย ชมย้อนหลังได้ทาง www.thaipbs.or.th/program/Lui/episodes/94169
ของดีทั่วไทย พาไปชมงานฝีมือของชาวบ้านวังถั่ว ต.วังชัย อ.น้ำพอง จ.ขอนแก่น รวมกลุ่มสืบทอดอาชีพผลิตเครื่องปั้นดินเผา รูปแบบตามที่ลูกค้าต้องการส่งขายทั่วภาคอีสานในราคาย่อมเยา
แลนด์มาร์คใหม่ริมทะเลสาบสงขลา สร้างพญานาค 7 เศียร ปู่ภุชงค์นาคราชและแม่ย่าทองคำ ที่วัดโคกเปี้ยว คาดเสร็จปลายปี 67
ฟูจิเซ็นเซจะพาไปเที่ยวชมออนเซ็นธรรมชาติราคาประหยัดในโออิตะ อาบสบายในน้ำแร่ธรรมชาติ แถมราคาถูกมาก ไม่ถึง 100 บาท ถูกใจทั้งคนญี่ปุ่น และนักท่องเที่ยว มาดูให้รู้ไปพร้อมกัน ???? ชมย้อนหลังรายการดูให้รู้ ได้ทาง www.thaipbs.or.th/Dohiru
หากคุณรักญี่ปุ่นถึงขั้นอยากมีบ้านในญี่ปุ่น ! ตามฟูจิเซ็นเซไปเจาะลึกเรื่องการซื้อบ้านในฟูกูโอกะ เรื่องจำเป็นต้องรู้ นอกเหนือจากราคาบ้าน ยังมีภาษีที่ดิน ภาษีอสังหาริมทรัพย์ และค่าใช้จ่ายรายปี รวมถึงเรื่องกฎหมายและเงื่อนไขที่แตกต่างจากการซื้อขายบ้านในไทย !
ฟูจิเซ็นเซจะพาไปหาคำตอบที่ว่าคนญี่ปุ่นนับถือศาสนาหรือไม่ ? เพราะคนญี่ปุ่นส่วนใหญ่ที่ถูกถามเรื่องศาสนามักพูดว่าตัวเองไม่มีศาสนา แต่อาจรู้กันดีว่าศาสนานั้นอยู่ในใจ มาดูให้รู้ไปพร้อมกัน ชมย้อนหลังรายการดูให้รู้ ได้ทาง www.thaipbs.or.th/Dohiru
อยากเป็นวิศวกรเก่ง เรียนจบไว มีงานทำแน่นอน มาดูให้รู้กัน ! ฟูจิเซ็นเซจะพาไปรู้จักหลักสูตรวิศวกรรมจากญี่ปุ่นที่สถาบันโคเซ็น แห่ง สจล. ซึ่งมีความร่วมมือกับญี่ปุ่นมาอย่างแนบแน่น
เสน่ห์และความสวยงามของธรรมชาติในชุมชนบ้านท่ามะปราง - คลองเพล หมู่บ้านท่องเที่ยววิถีชุมชน ทำให้ได้รับเลือกเป็นพื้นที่นำร่อง พัฒนาการท่องเที่ยวแบบ "Blue Zone" ผลักดันการท่องเที่ยว "เขาใหญ่" ให้เป็นเมืองท่องเที่ยว "สุขภาวะจิตที่ดี" โดยดึงคนในชุมชนมีส่วนร่วมไม่ว่าจะเป็นการผลิตอาหารปลอดภัยและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในชุมชน
แหล่งอาหารที่น้อยลง ทำให้นกอีแอ่น ใน อ.ปากพนัง จ.นครศรีธรรมราช อพยพไปหาที่อยู่ใหม่ ส่งผลต่อเนื่องกับธุรกิจ “สร้างบ้านนก หรือคอนโดนก” กว่า 200 หลัง ที่ต้องกลายเป็นตึกร้าง บางหลังมีนกพิราบเข้ายึดครอง บางหลังเจ้าของพยายามประกาศขายแล้ว แต่ก็หาคนซื้อไม่ได้ กมลศักดิ์ เลิศไพบูลย์ อดีตประธานสมาคมผู้ประกอบการธุรกิจรังนกแอ่น(ประเทศไทย) เล่าว่า ปัจจัยทำให้นกอีแอ่นย้ายถิ่นหายไปจากอำเภอปากพนัง มีอยู่ 2 -3 ปัจจัย ปัจจัยแรก เกิดจากอิทธิพลพายุปลาบึก ซึ่งพัดขึ้นฝั่งที่จังหวัดนครศรีธรรมราช เมื่อปี 2562 หลังพายุสงบ พบฝูงนกอีแอ่นเริ่มหายไปจากอำเภอปากพนัง ปัจจัยต่อมา อาจเกิดจากแหล่งอาหารลดน้อยลง ทำให้นกบินไปหากินไกลมากขึ้น และไม่กลับพื้นที่
พบกับประเด็น..."นกอีแอ่น" ย้ายถิ่นกระทบธุรกิจสร้างบ้านนก จ.นครศรีธรรมราช...หนอนหัวดำระบาดสวนมะพร้าว อ.สิชล จ.นครศรีธรรมราช
ย้อนฟังที่มาของมัสมั่น ในรายการในรอยรส ชมย้อนหลังได้ทาง www.thaipbs.or.th/program/TasteDetective/episodes/104232
เป็นที่ทราบกันแล้วว่าผลการเลือก ประธานบอร์ดแบงก์ชาติ โดยคณะกรรมการสรรหามีมติเลือก นายกิตติรัตน์ ณ ระนอง เป็นประธานบอร์ดแบงก์ชาติ แทน นายปรเมธี วิมลศิริ ประธานกรรมการแบงก์ชาติคนล่าสุดสิ้นสุดวาระดำรงตำแหน่ง แต่กว่าจะมาถึงขั้นนี้นั้น มีกระแสข่าวมากมายเกิดขึ้น มีการต่อต้านจากนักเศรษฐศาสตร์ ว่ามีความกังวลที่ให้ฝ่ายการเมืองมารับตำแหน่งนี้
ชวนคุยประเด็นร้อน...เลื่อนโหวต "เพิ่มผู้บริหารแผนฟื้นฟูฯ การบินไทย" เป็น 29 พ.ย. 67 ส่วนเลือกตั้งบอร์ดแบงก์ชาติยังต้องลุ้น หลายฝ่ายหวั่นรัฐแทรกแซง ขณะที่ กมธ.ความมั่นคง เชิญผู้บริหาร รพ.ตำรวจ ชี้แจง "กรณีทักษิณรักษาตัวชั้น 14" แล้วเกาะกูดจะจบอย่างไร ? ด้านบิ๊กป้อมสั่งลุย "ยกเลิก MOU เกาะกูด"
กรณีกระแสวิพากษ์วิจารณ์ MOU44 ระหว่างไทย-กัมพูชา อาจทำให้ไทยเสียดินแดนทางทะเลหรือไม่ ซึ่งล่าสุด น.ส.แพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี เตรียมตั้งทีม JTC เพื่อเจรจา โดยคาดว่าจะมีความชัดเจนกลางเดือน พ.ย.นี้นั้น ทำไมกรณี MOU44 ยิ่งมีคนออกมาแสดงความคิดเห็นมากเท่าใด ยิ่งดีกับประเทศไทย ฟังวิเคราะห์จาก สุทธิชัย หยุ่น, อาจารย์วีระ ธีรภัทร และวิสุทธิ์ คมวัชรพงศ์
พาออกตามหาเพื่อนใหม่ที่ย่าน "สายไหม" ครั้งนี้ได้พบกับเรื่องราวชีวิตที่ต้องสู้เพื่อปากท้อง และความน่ารักจากแม่ค้าของฝากอย่าง "พี่ตาล" ที่เปอร์-สุวิกรม ขอจีบกลางรายการ เรื่องราวจะเป็นอย่างไร
พาไปดูเบื้องหลังกองถ่ายรายการยินดีที่ได้รู้จัก กับความสนุกสนานและการทำงานที่ต้องแข่งกับเวลา และสภาพอากาศ มาลุ้นกันว่าพวกเขาจะเจอกับอะไรกันบ้าง
"พี่น้อย" เกษตรกรที่พลิกการทำเกษตรเคมีหันมาทำเกษตรอินทรีย์และเลือกปลูกโมโรเฮยะ ผักที่ขึ้นชื่อว่าเป็นราชาแห่งวิตามินที่สามารถกินสดได้ และพี่น้อยยังนำมาแปรรูปให้หลากหลาย
"โมโรเฮยะ" ถือเป็นพืชที่บางคนก็รู้จักบางคนก็ยังไม่รู้จัก วันนี้พี่น้อยเลยจะพามาทำความรู้จักโมโรเฮยะและวิธีการปลูก ซึ่งปลูกง่าย ไม่ต้องดูแล แถมได้ผลผลิตเร็ว กินแล้วมีประโยชน์อีกด้วย
นำเสนอความหลากหลายในศิลปะและวัฒนธรรม ถ่ายทอดเรื่องราว อุดมการณ์ จิตวิญญาณ ความมุ่งมั่นและตัวตนที่เป็นสุดยอดในศิลปะและวัฒนธรรมที่หลากหลาย
วัฒนธรรม ประเพณีที่ดีงาม ถูกสร้างขึ้นตั้งแต่บรรพบุรุษ และได้สืบต่อมาจนถึงปัจจุบัน นั่นคือ "ทุนทางวัฒนธรรม"
สรรค์สร้างความรู้ ศิลปะ วัฒนธรรม ดนตรี ออกเดินทางไปทั่วประเทศเพื่อถ่ายทอดเรื่องราวต่าง ๆ จากทุกภูมิภาค
สารคดีค้นหาเรื่องราวคนบนแผ่นดินที่เรียกว่าประเทศไทยในปัจจุบัน ตั้งแต่ประวัติศาสตร์ โบราณคดี วัฒนธรรม ภาษา ไปจนถึงในระดับพันธุกรรม DNA นำไปสู่ข้อมูลความรู้หลักฐานใหม่เพื่อตอบคำถามว่า "คนไทยคือใคร มาจากไหน" สารคดีเธอ เขา เรา ใคร สำรวจคนไทยในแผ่นดิน ออกอากาศทุกวันเสาร์ - อาทิตย์ เวลา 21.10 - 22.00 น. ทางไทยพีบีเอส