ผืนป่าทางภาคเหนือที่เคยโล่งเตียนจากการถางป่าเพื่อปลูกฝิ่น ได้รับการพลิกฟื้นให้เป็นพื้นที่ทำกินของชาวบ้าน ปลูกพืชทางเลือก ไม้ผลเมืองหนาวที่ไม่เคยมีใครคิดมาก่อนว่าจะปลูกได้ที่นี่ จนกลายเป็นรายได้หลักของเกษตรกรในโครงการตามแนวพระราชดำริของในหลวง รัชกาลที่ 9 ที่มุ่งให้คนในพื้นที่สามารถพึ่งพาตัวเองได้ ด้วยผลผลิตที่พวกเขาลงมือปลูกเอง ด้วยความรู้จากศาสตร์แห่งพระราชา
ความสำเร็จที่เกิดขึ้นทำให้โครงการหลวงและหมู่บ้านเกษตรพอเพียงหลายแห่ง ได้เป็นต้นแบบให้กับพื้นที่เกษตรในท้องถิ่นอื่นๆ ขยายไปสู่ประเทศเพื่อนบ้าน เช่นในจังหวัดเสียมเรียบ ประเทศกัมพูชา เกษตรกรพื้นบ้านปรับเปลี่ยนแนวคิดมาปลูกพืชผักตามแนวทางธรรมชาติ นำวัสดุเหลือใช้มาหมุนเวียนกลับมาทำประโยชน์ เลี้ยงดูต้นกล้า จนเติบโตเกิดเป็นความมั่นคงทางอาหาร มีความปลอดภัยต่อผู้บริโภค ท่ามกลางสิ่งแวดล้อมรายล้อมที่สอนให้พวกเขาอยู่กับธรรมชาติด้วยการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน
แนวคิดด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืนทำให้พวกเขาสร้างที่ทำกินในท้องถิ่นของตน ด้วยวิชาความรู้ทางการเกษตรที่สามารถพึ่งพาตัวเอง ภาพชีวิตของเกษตรกรทั้งในประเทศไทยและกัมพูชา จึงเป็นบทพิสูจน์หนึ่งของแนวคิดศาสตร์พระราชาอันเป็นแนวคิดสากลที่ก่อให้ เกิดประโยชน์อย่างยั่งยืนในการใช้ชีวิตในโลกปัจจุบัน
ติดตามชมรายการ Spirit of Asia ตอน ปลูกชีวิตบนผืนดิน วันอาทิตย์ที่ 27 สิงหาคม 2560 เวลา 16.30 – 17.00 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมผ่านทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/live
แท็กที่เกี่ยวข้อง:
ปลูกชีวิตบนผืนดิน
ผืนป่าทางภาคเหนือที่เคยโล่งเตียนจากการถางป่าเพื่อปลูกฝิ่น ได้รับการพลิกฟื้นให้เป็นพื้นที่ทำกินของชาวบ้าน ปลูกพืชทางเลือก ไม้ผลเมืองหนาวที่ไม่เคยมีใครคิดมาก่อนว่าจะปลูกได้ที่นี่ จนกลายเป็นรายได้หลักของเกษตรกรในโครงการตามแนวพระราชดำริของในหลวง รัชกาลที่ 9 ที่มุ่งให้คนในพื้นที่สามารถพึ่งพาตัวเองได้ ด้วยผลผลิตที่พวกเขาลงมือปลูกเอง ด้วยความรู้จากศาสตร์แห่งพระราชา
ความสำเร็จที่เกิดขึ้นทำให้โครงการหลวงและหมู่บ้านเกษตรพอเพียงหลายแห่ง ได้เป็นต้นแบบให้กับพื้นที่เกษตรในท้องถิ่นอื่นๆ ขยายไปสู่ประเทศเพื่อนบ้าน เช่นในจังหวัดเสียมเรียบ ประเทศกัมพูชา เกษตรกรพื้นบ้านปรับเปลี่ยนแนวคิดมาปลูกพืชผักตามแนวทางธรรมชาติ นำวัสดุเหลือใช้มาหมุนเวียนกลับมาทำประโยชน์ เลี้ยงดูต้นกล้า จนเติบโตเกิดเป็นความมั่นคงทางอาหาร มีความปลอดภัยต่อผู้บริโภค ท่ามกลางสิ่งแวดล้อมรายล้อมที่สอนให้พวกเขาอยู่กับธรรมชาติด้วยการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน
แนวคิดด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืนทำให้พวกเขาสร้างที่ทำกินในท้องถิ่นของตน ด้วยวิชาความรู้ทางการเกษตรที่สามารถพึ่งพาตัวเอง ภาพชีวิตของเกษตรกรทั้งในประเทศไทยและกัมพูชา จึงเป็นบทพิสูจน์หนึ่งของแนวคิดศาสตร์พระราชาอันเป็นแนวคิดสากลที่ก่อให้ เกิดประโยชน์อย่างยั่งยืนในการใช้ชีวิตในโลกปัจจุบัน
ติดตามชมรายการ Spirit of Asia ตอน ปลูกชีวิตบนผืนดิน วันอาทิตย์ที่ 27 สิงหาคม 2560 เวลา 16.30 – 17.00 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมผ่านทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/live
แท็กที่เกี่ยวข้อง:
Spirit of Asia
อวตารเทวาลัยกับชนเผ่าในโอริสา
ตลาดชนเผ่าในโอดิชา
บอนดา ชนเผ่าเปลือย
สุดแดนรัสเซียที่ขั้วโลก
ความสุขที่ชะลอความชรา
ชีวิตในพระประสงค์ของเทพเจ้า
ชายชราผู้ปิดทองหลังพระ
ปูชนียวัฒนธรรม
สุนทรียะในวงน้ำชา
เชจู เกาะดึกดำบรรพ์ข้ามยุค
สินค้าวัฒนธรรมจากเกาหลีใต้
วัฒนธรรมรวมชาติเกาหลี
เมโกเต็ก พิธีเฉลิมฉลองนักรบบาหลี
พิธีส่งวิญญาณของเผ่าบาหลีอากา
ไก่ชนบูชายัญเกาะบาหลี
ไก่ชนไทยเมียนมา ...นักสู้คู่ปรับ
อารยชนลุ่มน้ำในเมียนมา
กะเหรี่ยงน้ำเขตเอยาวดี
มุสตาง อาณาจักรที่ถูกลืม
หลังปราการอาณาจักรมุสตาง
นักล่าน้ำผึ้ง
อันดามันเหนือ ไข่มุกทะเลเมียนมา
วิถีมุสลิม จากเกลียวคลื่นสู่ทะเลทราย
ชาตัน ชนเผ่าเรนเดียร์แห่งมองโกเลีย
ดอกไม้ป่า โอสถล้ำค่าของชาวมองโกล
ปลูกชีวิตบนผืนดิน
เกษตรยืนยงบนเกาะกง
ฟื้นชีวิตป่าชายเลนจากเกาะกงถึงแหลมผักเบี้ย
เจ้าชีวิตนักพัฒนา
การศึกษากับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
Spirit of Asia
อวตารเทวาลัยกับชนเผ่าในโอริสา
ตลาดชนเผ่าในโอดิชา
บอนดา ชนเผ่าเปลือย
สุดแดนรัสเซียที่ขั้วโลก
ความสุขที่ชะลอความชรา
ชีวิตในพระประสงค์ของเทพเจ้า
ชายชราผู้ปิดทองหลังพระ
ปูชนียวัฒนธรรม
สุนทรียะในวงน้ำชา
เชจู เกาะดึกดำบรรพ์ข้ามยุค
สินค้าวัฒนธรรมจากเกาหลีใต้
วัฒนธรรมรวมชาติเกาหลี
เมโกเต็ก พิธีเฉลิมฉลองนักรบบาหลี
พิธีส่งวิญญาณของเผ่าบาหลีอากา
ไก่ชนบูชายัญเกาะบาหลี
ไก่ชนไทยเมียนมา ...นักสู้คู่ปรับ
อารยชนลุ่มน้ำในเมียนมา
กะเหรี่ยงน้ำเขตเอยาวดี
มุสตาง อาณาจักรที่ถูกลืม
หลังปราการอาณาจักรมุสตาง
นักล่าน้ำผึ้ง
อันดามันเหนือ ไข่มุกทะเลเมียนมา
วิถีมุสลิม จากเกลียวคลื่นสู่ทะเลทราย
ชาตัน ชนเผ่าเรนเดียร์แห่งมองโกเลีย
ดอกไม้ป่า โอสถล้ำค่าของชาวมองโกล
ปลูกชีวิตบนผืนดิน
เกษตรยืนยงบนเกาะกง
ฟื้นชีวิตป่าชายเลนจากเกาะกงถึงแหลมผักเบี้ย
เจ้าชีวิตนักพัฒนา
การศึกษากับการพัฒนาอย่างยั่งยืน