แนวคิดเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติว่าเป็นแนวคิดที่มีประโยชน์ต่อผู้คนในการดำรงชีวิตที่ทำให้พึ่งพาตนเองได้อย่างพอเพียงและยั่งยืน หลายพื้นที่ในต่างประเทศจึงรับเอาแนวคิดนี้ไปปรับใช้กับประชากรของตนเองจนประสบความสำเร็จ
เช่นเดียวกับที่หมู่บ้านบางขยักและหมู่เปียมกระสอบในจังหวัดเกาะกง ของประเทศกัมพูชา ซึ่งในอดีตเป็นเพียงหมู่บ้านที่พึ่งพิงการทำมาหากินภายใต้สภาพลมฟ้าอากาศ และการประมงที่ได้ผลผลิตไม่แน่นอน ชาวบ้านหลายครัวเรือนต้องพบเจอปัญหาเรื่องการดำรงชีพที่ไม่สามารถพึ่งพาตัวเองได้ แต่ด้วยความเป็นเพื่อนบ้านและมีสายเลือดที่ผูกพันกันระหว่างประเทศไทยและคนไทยเกาะกงในหมู่บ้านแห่งนี้ หน่วยงานราชการไทยจึงได้นำความรู้เรื่องแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงมาแนะนำให้กับชาวบ้าน จัดการเรียนรู้ร่วมกันระหว่างชาวบ้าน เพื่อวางรากฐานวิธีปฏิบัติตนตามแนวพระราชดำริที่เกิดผลดี จนทำให้หมู่บ้านแห่งนี้กลายเป็นหมู่บ้านต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียงที่ประสบความสำเร็จอีกแห่งหนึ่งของกัมพูชา
และพวกเขาก็มุ่งพัฒนาแนวคิดในการทำเกษตรและทำการประมงในรูปแบบของตนเองจนกลายเป็นวิถีการดำรงชีวิตในกรอบความรู้ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในแบบของตัวเอง เพื่อดำรงอยู่ของวิถีชาวบ้านที่ยั่งยืน
ติดตามชมรายการ Spirit of Asia ตอน เกษตรยืนยงบนเกาะกง วันอาทิตย์ที่ 3 กันยายน 2560 เวลา 16.30 – 17.00 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมผ่านทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/live
เกษตรยืนยงบนเกาะกง
แนวคิดเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติว่าเป็นแนวคิดที่มีประโยชน์ต่อผู้คนในการดำรงชีวิตที่ทำให้พึ่งพาตนเองได้อย่างพอเพียงและยั่งยืน หลายพื้นที่ในต่างประเทศจึงรับเอาแนวคิดนี้ไปปรับใช้กับประชากรของตนเองจนประสบความสำเร็จ
เช่นเดียวกับที่หมู่บ้านบางขยักและหมู่เปียมกระสอบในจังหวัดเกาะกง ของประเทศกัมพูชา ซึ่งในอดีตเป็นเพียงหมู่บ้านที่พึ่งพิงการทำมาหากินภายใต้สภาพลมฟ้าอากาศ และการประมงที่ได้ผลผลิตไม่แน่นอน ชาวบ้านหลายครัวเรือนต้องพบเจอปัญหาเรื่องการดำรงชีพที่ไม่สามารถพึ่งพาตัวเองได้ แต่ด้วยความเป็นเพื่อนบ้านและมีสายเลือดที่ผูกพันกันระหว่างประเทศไทยและคนไทยเกาะกงในหมู่บ้านแห่งนี้ หน่วยงานราชการไทยจึงได้นำความรู้เรื่องแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงมาแนะนำให้กับชาวบ้าน จัดการเรียนรู้ร่วมกันระหว่างชาวบ้าน เพื่อวางรากฐานวิธีปฏิบัติตนตามแนวพระราชดำริที่เกิดผลดี จนทำให้หมู่บ้านแห่งนี้กลายเป็นหมู่บ้านต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียงที่ประสบความสำเร็จอีกแห่งหนึ่งของกัมพูชา
และพวกเขาก็มุ่งพัฒนาแนวคิดในการทำเกษตรและทำการประมงในรูปแบบของตนเองจนกลายเป็นวิถีการดำรงชีวิตในกรอบความรู้ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในแบบของตัวเอง เพื่อดำรงอยู่ของวิถีชาวบ้านที่ยั่งยืน
ติดตามชมรายการ Spirit of Asia ตอน เกษตรยืนยงบนเกาะกง วันอาทิตย์ที่ 3 กันยายน 2560 เวลา 16.30 – 17.00 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมผ่านทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/live
Spirit of Asia
อวตารเทวาลัยกับชนเผ่าในโอริสา
ตลาดชนเผ่าในโอดิชา
บอนดา ชนเผ่าเปลือย
สุดแดนรัสเซียที่ขั้วโลก
ความสุขที่ชะลอความชรา
ชีวิตในพระประสงค์ของเทพเจ้า
ชายชราผู้ปิดทองหลังพระ
ปูชนียวัฒนธรรม
สุนทรียะในวงน้ำชา
เชจู เกาะดึกดำบรรพ์ข้ามยุค
สินค้าวัฒนธรรมจากเกาหลีใต้
วัฒนธรรมรวมชาติเกาหลี
เมโกเต็ก พิธีเฉลิมฉลองนักรบบาหลี
พิธีส่งวิญญาณของเผ่าบาหลีอากา
ไก่ชนบูชายัญเกาะบาหลี
ไก่ชนไทยเมียนมา ...นักสู้คู่ปรับ
อารยชนลุ่มน้ำในเมียนมา
กะเหรี่ยงน้ำเขตเอยาวดี
มุสตาง อาณาจักรที่ถูกลืม
หลังปราการอาณาจักรมุสตาง
นักล่าน้ำผึ้ง
อันดามันเหนือ ไข่มุกทะเลเมียนมา
วิถีมุสลิม จากเกลียวคลื่นสู่ทะเลทราย
ชาตัน ชนเผ่าเรนเดียร์แห่งมองโกเลีย
ดอกไม้ป่า โอสถล้ำค่าของชาวมองโกล
ปลูกชีวิตบนผืนดิน
เกษตรยืนยงบนเกาะกง
ฟื้นชีวิตป่าชายเลนจากเกาะกงถึงแหลมผักเบี้ย
เจ้าชีวิตนักพัฒนา
การศึกษากับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
Spirit of Asia
อวตารเทวาลัยกับชนเผ่าในโอริสา
ตลาดชนเผ่าในโอดิชา
บอนดา ชนเผ่าเปลือย
สุดแดนรัสเซียที่ขั้วโลก
ความสุขที่ชะลอความชรา
ชีวิตในพระประสงค์ของเทพเจ้า
ชายชราผู้ปิดทองหลังพระ
ปูชนียวัฒนธรรม
สุนทรียะในวงน้ำชา
เชจู เกาะดึกดำบรรพ์ข้ามยุค
สินค้าวัฒนธรรมจากเกาหลีใต้
วัฒนธรรมรวมชาติเกาหลี
เมโกเต็ก พิธีเฉลิมฉลองนักรบบาหลี
พิธีส่งวิญญาณของเผ่าบาหลีอากา
ไก่ชนบูชายัญเกาะบาหลี
ไก่ชนไทยเมียนมา ...นักสู้คู่ปรับ
อารยชนลุ่มน้ำในเมียนมา
กะเหรี่ยงน้ำเขตเอยาวดี
มุสตาง อาณาจักรที่ถูกลืม
หลังปราการอาณาจักรมุสตาง
นักล่าน้ำผึ้ง
อันดามันเหนือ ไข่มุกทะเลเมียนมา
วิถีมุสลิม จากเกลียวคลื่นสู่ทะเลทราย
ชาตัน ชนเผ่าเรนเดียร์แห่งมองโกเลีย
ดอกไม้ป่า โอสถล้ำค่าของชาวมองโกล
ปลูกชีวิตบนผืนดิน
เกษตรยืนยงบนเกาะกง
ฟื้นชีวิตป่าชายเลนจากเกาะกงถึงแหลมผักเบี้ย
เจ้าชีวิตนักพัฒนา
การศึกษากับการพัฒนาอย่างยั่งยืน