ร่องรอยรส มนตราแห่งอาหารชวนติดตามการเดินทางที่ไม่มีวันสิ้นสุดของกลุ่มคนผู้หลงใหลในโลกของอาหาร ที่จะมาสะท้อนประสบการณ์และมุมมองเฉพาะตัวในเรื่องของอาหาร รสชาติ และผู้คน
เรื่องเล่าจากทุ่งข้าวนอกจากจะเป็นอาหารหลักที่ทำให้ชาวไทยอย่างเราได้อิ่มท้อง "ข้าว" ยังแฝงไปด้วยเรื่องราวของความเชื่อ วัฒนธรรมท้องถิ่น และสะท้อนประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์ระหว่างสองดินแดน ที่ต่อยอด "ข้าวไทย" ให้กลายเป็นสินค้าขึ้นชื่อในต่างแดน
โอชารส ใบชาหมักชวนทำความรู้จักวัฒนธรรมการกิน "ใบชาหมัก" ของชาวล้านนา ที่ไม่ได้นำมาใช้ชงเป็นเครื่องดื่มเท่านั้น แต่ยังสามารถนำมารังสรรค์เป็นอาหารว่างรสเลิศหลากหลายเมนู สะท้อนวิถีชีวิตของพื้นที่ที่อุดมไปด้วยใบชา
หอมกลิ่นเครื่องเทศข้ามทะเลไปขุมทรัพย์แห่ง "เครื่องเทศ" ที่ "หมู่เกาะโมลุกกะ" ประเทศอินโดนีเซีย ที่ยังปรากฏร่องรอยการต่อสู้ครอบครองดินแดนแหล่งผลิตเครื่องเทศ โชยกลิ่นอาย "กานพลู" และ "จันทน์เทศ" ที่ยังไม่เสื่อมคลายจนถึงทุกวันนี้
เกลือหวานปัตตานี มรดกรสจากแหลมมลายูพาไปดู "เกลือหวานปัตตานี" ที่ไม่ได้มีรสหวาน แต่เค็มกลมกล่อม และเป็นวัตถุดิบชูรสอาหารคาวหวานคู่ครัวท้องถิ่นปัตตานี
ของเน่าเรากินชวนขึ้นเหนือลงใต้ไปส่องภูมิปัญญาการเปลี่ยน "ของเน่า" ให้กลายเป็น "ของที่เรากิน" ทั้งกรรมวิธีการทำ "ถั่วเน่า" ของชาวไทใหญ่ในจังหวัดแม่ฮ่องสอนไปจนถึงเมืองเชียงตุง ประเทศเมียนมา และเคล็ดลับการหมัก "กะปิ"
อิ่มมนต์รสเผ็ดสำรวจเสน่ห์ของอาหาร "รสเผ็ด" จากหลายพื้นที่ทั่วไทย ที่เป็นทั้งรสชาติที่เติมเต็มมื้ออาหารให้ครบอรรถรส และยังผูกโยงกับประเพณีของผู้คนที่สืบทอดกันมาอย่างยาวนาน
ในรอยรสพริกก่อนจะมี "พริก" มาเพิ่มอรรถรสให้กับอาหารไทย คนไทยเรากิน "เผ็ด" แบบไหนมาก่อน? แล้ว "พริก" เดินทางมาจากที่ไหน ? มาหาคำตอบบนเส้นทางแห่งความเผ็ดนี้ไปด้วยกัน
สืบรอยฝอยทองสืบรอยความหวานของขนมไทยอย่าง "ฝอยทอง" ไปถึงต้นทาง "ประเทศโปรตุเกส" อดีตชาติมหาอำนาจทางทะเล ที่ผูกสัมพันธ์กับสยามมายาวนานกว่า 500 ปี
การเดินทางของมัสมั่นย้อนรอยอารยธรรมเปอร์เซียด้วย "แกงมัสมั่น" เมนูยอดฮิตที่สะท้อนมรดกทางวัฒนธรรม และความสัมพันธ์ของสยาม - เปอร์เซีย ที่มีมาตั้งแต่สมัยอยุธยา และมีร่องรอยให้เห็นจนถึงปัจจุบัน
ฟังเรื่องราวของ กวาง AB Normal และ แทน Ultra Chuadz กับจุดเริ่มต้นของก้าวแรกสู่การเป็นนักดนตรี ที่ไม่ใช่จุดเริ่มต้นที่หวือหวา มีเพียงแค่ความอยากเล่นดนตรีของวัยรุ่นคนหนึ่งเท่านั้น
พบกับน้ำพริกที่มีความน่าสนใจ เพราะมีการสะท้อนทั้งอัตลักษณ์ของชาติพันธุ์ น้ำพริกที่เด่นเรื่องการใช้สมุนไพร น้ำพริกที่มีเครื่องเคียงไม่เหมือนใคร
เรื่องราวของหมู่บ้านน้ำกุ่ม หมู่บ้านที่คนสูงวัยไม่เคยหยุดนิ่ง และ หน่อไม้ ที่ชื่อว่า "หน่อน้อง" คืออะไร?
ขบวนการแก๊งคอลเซนเตอร์ ปัญหาที่มีเรื้อรังมีอย่างเนิ่นนานตอนนี้ทางการไทย ได้ทำการตัดไฟ ตัดอินเทอร์เน็ต ตัดการส่งน้ำมันไปยังประเทศเมียนมา เพื่อยับยั้งปราบปรามขบวนการแก๊งคอลเซนเตอร์จีนเทา แต่ปัญหาก็ยังดูจะไม่หมดไป แล้วยังเหลืออะไรอีก ที่ต้องจัดการ
เล่าเรื่องราวของกลุ่มหลากหลายทางเพศ ผ่านชีวิตแอนนา ผู้สูญเสียสามีชาวต่างชาติด้วยอาการหัวใจวายเฉียบพลันที่อยู่กินด้วยกันมานานนับสิบปี แอนนาต้องกลับมาทำอาชีพค้าบริการอีกครั้ง
เกาะติดข่าวทุกวันหยุดในรายการ "ชั่วโมงข่าว เสาร์ - อาทิตย์" ทุกวันเสาร์ - อาทิตย์ เวลา 08.30 - 10.00 น. ทางไทยพีบีเอส
เรียนรู้เรื่องราวแค่เศร้า หรือเหงาเกินไปจุดเริ่มต้นของปัญหาสุขภาพจิต ต่อกันด้วยดูแลใจด้วยกิจกรรมบำบัด และโยคะลดอาการในวัยทอง
เรื่องราวของลุงทูหมูพวงอินฟลู และยายสะอิ้ง ยายแป๋ว คู่หูยูทูบเบอร์ ต่อกันด้วยดอกบัวแสนสวย สีชมพู๊ ชมพู แท้จริงแล้วเอามาทำเป็นเมนูแสนอร่อย ที่ชื่อ "ต้มกะทิสายบัวปูเค็ม"
ปี 2562 สนามบินดอนเมืองสามารถรองรับผู้โดยสารได้สูงสุด 40 ล้านคน/ปี ซึ่งถือว่าเป็นจำนวนที่เกินขีดความสามารถการรองรับของสนามบิน ด้วยศักยภาพของสนามบินดอนเมืองที่ยังสามารถขยายได้อีก จึงพัฒนาเป็นแผนการขยายสนามบินดอนเมืองระยะที่ 3
เล่าเรื่องราวของกลุ่มหลากหลายทางเพศ ผ่านชีวิตแอนนา ผู้สูญเสียสามีชาวต่างชาติด้วยอาการหัวใจวายเฉียบพลันที่อยู่กินด้วยกันมานานนับสิบปี แอนนาต้องกลับมาทำอาชีพค้าบริการอีกครั้ง
ทรายนำดาบไทยที่ถูกขโมยไปจากร้านของเก่ามาให้ซัน ซันตกใจและรู้สึกขอบคุณทราย งานแข่งฟันดาบมาถึง ซึ่งบริษัทอาทิตย์เป็นผู้จัดขึ้น จึงทำให้ซันและรุ่งทิวาได้พบกับอาทิตย์ในวันแข่งขัน
พูดคุยกับ บก.ลายจุด ผู้ก่อตั้งมูลนิธิกระจกเงา ถึงความเป็นองค์กรภาคประชาสังคมกับการทำงานเติมเต็มให้กับภาครัฐ การสร้างโอกาสให้กับผู้ด้อยโอกาสทางสังคม และภารกิจขับเคลื่อนสังคมไทย
เป็นมูลนิธิที่ไม่ใช่แค่รับของบริจาคมา แล้วแจกไป แต่เบื้องหลัง #มูลนิธิกระจกเงา ที่เจ้าหน้าที่ประจำ 200 ชีวิต ยังมีภารกิจฟื้นฟูผู้สูงอายุ ผู้ป่วยจิตเวช คนไร้บ้าน ให้กลับมามีพลังและคุณค่าอีกครั้ง พวกเขาทำกันอย่างไร สมบัติ บุญงามอนงค์ หรือ บก.ลายจุด ผู้ก่อตั้งมูลนิธิกระจกเงา อธิบาย ???? ชมคลิปเต็ม #คุยนอกกรอบกับสุทธิชัยหยุ่น ได้ที่ www.thaipbs.or.th/program/TalkOutOfTheBox/episodes/106661 #ThaiPBS
เป็นเรื่องที่หลายคนอาจไม่รู้ คนไทยที่ชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านกลาง จะไม่ได้สวัสดิการต่าง ๆ ของรัฐ เงินแจก 10,000 บาท จากรัฐบาลก็ไม่ได้ แม้กระทั่งเลือกตั้งก็ทำไม่ได้ ซึ่งมีคนกลุ่มนี้ 1 แสนกว่าคน ซึ่งเป็นข้อห่วงใยจาก สมบัติ บุญงามอนงค์ ผู้ก่อตั้ง #มูลนิธิกระจกเงา #ThaiPBS #คุยนอกกรอบกับสุทธิชัยหยุ่น ชมคลิปเต็ม ได้ที่ : https://www.thaipbs.or.th/program/TalkOutOfTheBox/episodes/106661
ไม่ได้ทำงานเพียงช่วยน้ำท่วม ช่วยดับไฟป่า หรือช่วยจ้างงานกลุ่มเปราะบางต่าง ๆ แต่ #มูลนิธิกระจกเงา ยังมีบริการให้ยืมเครื่องผลิตออกซิเจน แก่ผู้ป่วยวิกฤตยืมใช้ ซึ่งเป็นสิ่งที่ สมบัติ บุญงามอนงค์ ผู้ก่อตั้งมูลนิธิกระจกเงา สุดภูมิใจ แม้เป็นเครื่องบริจาค แต่สามารถฟื้นฟูสารภายในเครื่อง ให้กลับมาใช้งานได้เหมือนเครื่องใหม่ ???? ชมคลิปเต็ม #คุยนอกกรอบกับสุทธิชัยหยุ่น ได้ที่ www.thaipbs.or.th/program/TalkOutOfTheBox/episodes/106661 #ThaiPBS
สมบัติ บุญงามอนงค์ หรือ บก.ลายจุด ผู้ก่อตั้ง #มูลนิธิกระจกเงา ออกตัวยอมรับว่าการแสดงออกทางการเมืองที่ผ่านมา มีผลกระทบต่อมูลนิธิกระจกเงาแน่นอน อาจมีฝ่ายรัก ฝ่ายชัง แต่ถ้าในบทบาท ผู้ก่อตั้งมูลนิธิฯ เขาทำงานได้หมดกับคนจากทุกสีเสื้อการเมือง เพราะอะไร ฟังคำอธิบาย ???? ชมคลิปเต็ม #คุยนอกกรอบกับสุทธิชัยหยุ่น ได้ที่ www.thaipbs.or.th/program/TalkOutOfTheBox/episodes/106661 #ThaiPBS
สมบัติ บุญงามอนงค์ หรือ บก.ลายจุด ผู้ก่อตั้ง #มูลนิธิกระจกเงา อธิบาย “โดนัลด์ ทรัมป์” ประธานาธิบดีสหรัฐฯ คนใหม่ ทำไมเป็นนักการเมืองที่กลุ่มเอ็นจีโอเกลียดที่สุด #ThaiPBS #คุยนอกกรอบกับสุทธิชัยหยุ่น ชมคลิปเต็ม ได้ที่ https://www.thaipbs.or.th/program/TalkOutOfTheBox/episodes/106661
หลังจากกรมพระราชวังบวรมหาศักดิพลเสพฯ เสด็จสวรรคต สร้างความโศกเศร้าให้ พระองค์เจ้าดาราวดี อย่างยิ่ง รวมถึง หม่อมขำ ก็ร้องไห้หนัก จน หม่อมสุด ต้องคอยปลอบใจ ระหว่างนั้น หม่อมสอน กับ หม่อมเภา ผ่านมาเห็น ก็ว่าหม่อมขำกับหม่อมสุดเป็นคู่เล่นเพื่อนกัน
ความรักเอย ... เจ้าลอยลมมาหรือไร .... มาดลจิต มาดลใจ เสน่หา เพลง : เสน่หา (เพลงประกอบละคร "จากเจ้าพระยาสู่อิรวดี") คำร้อง : มนัส ปิติสานต์ เรียบเรียง : ณัฐพากย์ กวีธรรมวงษ์ ขับร้อง : จีรภัทร จันทร์แจ้ง ติดตามชมละคร #จากเจ้าพระยาสู่อิรวดี ตอนแรก วันที่ 1 – 2 มกราคมนี้ เวลา 20.15 - 21.10 น. ทาง #ThaiPBS #ช่องหมายเลข3 ▶ ชมสดออนไลน์ Website : www.thaipbs.or.th/Live Facebook : @ThaiPBS ▶ ชมอีกครั้งทาง Website : www.VIPA.me Application VIPA : https://bit.ly/3rJQ7HA
บทบาทใหม่ของ #ก๊อตจิรายุ และการร่วมงานกับไทยพีบีเอสครั้งแรก! แค่เปิดตัว "ปกรณ์" มาก็หล่อหนักมาก แฟน ๆ เตรียมกรี๊ดกันได้เลย พบกันในละคร #จากเจ้าพระยาสู่อิรวดี ละครรัก ย้อนประวัติศาสตร์
นุชนาฏ ได้งานเป็นผู้ช่วยเชฟในโรงเรียนสอนทําอาหารในโรงแรมชื่อดังเธอได้ร่วมงานกับหัวหน้าเชฟสุดเนี้ยบอย่าง ปกรณ์ ที่เป็นคนไทยเหมือนกันแต่กลับไม่เคยออมชอม...
เวฬาบอกข่าวดีว่าซันกับทรายแคสงานถ่ายแบบผ่าน เพื่อน ๆ ต่างยินดีด้วย แต่เกิดเรื่องวุ่นวายขึ้นที่ร้านของเก่าของซัน ซันเชื่อว่าเป็นฝีมือของคู่อริเก่าที่เคยทำร้ายเวฬาสมัยมัธยมปลาย
ช่วงนี้ผู้ที่ใช้บริการสายการบินอาจจะรู้สึกว่าทำไมราคาตั๋วถึงแพงขึ้น แต่จากงานวิจัยระบุว่ามีแนวโน้มที่ราคาตั๋วจะลดลงในอนาคต หากภาครัฐจะมีส่วนช่วยในการสนับสนุนโครงสร้างพื้นฐานให้มีประสิทธิภาพด้วย
แฟนจักรยานไทยเตรียมพบกับศึกชิงจ้าวถนนใน “ปั่นสู่ฝัน คนวัยมันส์” กับการแข่งขันจักรยานทางไกล ชิงแชมป์เอเชีย 2025 (Asian Road Cycling Championships 2025)
คุณสุดกับคุณขำตัดสินใจเข้ารับโทษตามกฎมนเทียรบาลกับท้าววรจันทร์ แต่ด้วยความเป็นห่วงทั้งคู่ พระเจนอภิบาลพยายามหาทางช่วยเหลือ ด้านท้าววรจันทร์เมื่อได้สอบสวน คุณสุด กับ คุณขำ ยิ่งไม่สบายใจ เพราะถ้าไม่ลงโทษทั้งคู่ก็จะเป็นเยี่ยงอย่าง และทำให้กฎมนเทียรบาลไม่มีความหมายอีกต่อไป
งานแข่งอุ่นเครื่องซันแข่งแพ้แมน ส่วนทามบาดเจ็บที่หัวไหล่แผลเดิม เวฬามีโอกาสเข้าไปร่วมทำโปรเจคที่บริษัทของอาทิตย์ และทาบทามให้ซันไปแคสติ้งชุดนักกีฬาฟันดาบที่เวฬาออกแบบ
นำเสนอความหลากหลายในศิลปะและวัฒนธรรม ถ่ายทอดเรื่องราว อุดมการณ์ จิตวิญญาณ ความมุ่งมั่นและตัวตนที่เป็นสุดยอดในศิลปะและวัฒนธรรมที่หลากหลาย
วัฒนธรรม ประเพณีที่ดีงาม ถูกสร้างขึ้นตั้งแต่บรรพบุรุษ และได้สืบต่อมาจนถึงปัจจุบัน นั่นคือ "ทุนทางวัฒนธรรม"
สรรค์สร้างความรู้ ศิลปะ วัฒนธรรม ดนตรี ออกเดินทางไปทั่วประเทศเพื่อถ่ายทอดเรื่องราวต่าง ๆ จากทุกภูมิภาค
สารคดีค้นหาเรื่องราวคนบนแผ่นดินที่เรียกว่าประเทศไทยในปัจจุบัน ตั้งแต่ประวัติศาสตร์ โบราณคดี วัฒนธรรม ภาษา ไปจนถึงในระดับพันธุกรรม DNA นำไปสู่ข้อมูลความรู้หลักฐานใหม่เพื่อตอบคำถามว่า "คนไทยคือใคร มาจากไหน" สารคดีเธอ เขา เรา ใคร สำรวจคนไทยในแผ่นดิน ออกอากาศทุกวันเสาร์ - อาทิตย์ เวลา 21.10 - 22.00 น. ทางไทยพีบีเอส