ค้นหา
ทีวีออนไลน์
เว็บไซต์ในเครือ
เว็บไซต์บริการ
ฟังเสียงประเทศไทย
ฟังเสียงประเทศไทย

ธรรมาภิบาลข้ามพรมแดน โขง เขื่อน ไฟฟ้า

หน้ารายการ
14 ธ.ค. 67

"แม่น้ำโขง" แม่น้ำสายสำคัญอันดับ 12 ของโลก และเป็นแม่น้ำนานาชาติที่ยาวที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีต้นกำเนิดจากภูเขาหิมะบนเทือกเขาหิมาลัย ไหลผ่าน 6 ประเทศด้วยกัน จีน เมียนมาร์ ไทย สปป.ลาว กัมพูชา และเวียดนาม ความยาวรวมกว่า 4,900 กิโลเมตร

น้ำโขงเป็นบ้านของปลา 1,100 ชนิด อุดมไปด้วยความหลายทางชีวภาพ ทั้งสัตว์น้ำ สัตว์เลื้อยคลาน สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกนานาชนิด และมีพันธุ์พืชกว่า 20,000 ชนิดพันธุ์ อีกทั้งยังมีดินที่อุดมไปด้วยแร่ธาตุ สร้างความสมบูรณ์ตลอดสองฝั่งลำน้ำ เกื้อหนุนผู้คนกว่า 300 ล้านคน ให้ได้พึ่งพาอาศัยสายน้ำในการหล่อเลี้ยงชีวิต

แต่วันนี้ทุกอย่างไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป เมื่อสภาพภูมิอากาศเกิดการเปลี่ยนแปลง การดำเนินชีวิตของผู้คนปรับเปลี่ยนตามวิถีการพัฒนา อีกทั้งยังมีการก่อสร้างโครงการเขื่อนขนาดใหญ่กั้นขวางลำน้ำเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า การระเบิดแก่งแม่น้ำโขง การทำที่กั้นตลิ่งริมฝั่ง เหล่านี้ทำให้แม่น้ำโขงเปลี่ยนไป

ท่ามกลางคำถามถึงธรรมาภิบาลในการลงทุนข้ามพรมแดน ทั้งคนในพื้นที่ นักวิชาการ ภาคประชาสังคม และกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ต่างลุกขึ้นมาแสดงความห่วงกังวลถึงผลกระทบที่อาจจะทำให้ระบบนิเวศของแม่น้ำโขงพังทลายลงไป รายการฟังเสียงประเทศไทย จึงอยากชวนทุกท่านมาช่วยกันคิด ร่วมกันมอง หาทางออกไปพร้อม ๆ กัน กับแขกรับเชิญทั้ง 6 ท่าน

  1. ปิยะนันท์ จิตแจ้ง เครือข่ายกลุ่มรักษ์เชียงของ
  2. ปรีดา คงแป้น กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
  3. รศ. ดร.ชาลี เจริญลาภนพรัตน์ สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร (SIIT) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ SDG Move
  4. ดร.พูนศักดิ์ จันทร์จำปี ประธานคณะกรรมาธิการที่ดินทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม สภาผู้แทนราษฎร
  5. รศ. ดร.ชัยยุทธ สุขศรี คณะกรรมการแม่นำโขงแห่งชาติไทย (TNMC )
  6. วิฑูรย์ เพิ่มพงศาเจริญ เครือข่ายพลังงานเพื่อนิเวศในลุ่มน้ำโขง (MEE Net)

ติดตาามในรายการฟังเสียงประเทศไทย วันเสาร์ที่ 14 ธันวาคม 2567 เวลา 17.30-18.00 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/live

ดูรายการฟังเสียงประเทศไทยแบบจุใจ ในรูปแบบ UNCUT ได้แล้ววันนี้ ที่ YouTube CitizenThaiPBS

ธรรมาภิบาลข้ามพรมแดน โขง เขื่อน ไฟฟ้า

14 ธ.ค. 67

"แม่น้ำโขง" แม่น้ำสายสำคัญอันดับ 12 ของโลก และเป็นแม่น้ำนานาชาติที่ยาวที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีต้นกำเนิดจากภูเขาหิมะบนเทือกเขาหิมาลัย ไหลผ่าน 6 ประเทศด้วยกัน จีน เมียนมาร์ ไทย สปป.ลาว กัมพูชา และเวียดนาม ความยาวรวมกว่า 4,900 กิโลเมตร

น้ำโขงเป็นบ้านของปลา 1,100 ชนิด อุดมไปด้วยความหลายทางชีวภาพ ทั้งสัตว์น้ำ สัตว์เลื้อยคลาน สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกนานาชนิด และมีพันธุ์พืชกว่า 20,000 ชนิดพันธุ์ อีกทั้งยังมีดินที่อุดมไปด้วยแร่ธาตุ สร้างความสมบูรณ์ตลอดสองฝั่งลำน้ำ เกื้อหนุนผู้คนกว่า 300 ล้านคน ให้ได้พึ่งพาอาศัยสายน้ำในการหล่อเลี้ยงชีวิต

แต่วันนี้ทุกอย่างไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป เมื่อสภาพภูมิอากาศเกิดการเปลี่ยนแปลง การดำเนินชีวิตของผู้คนปรับเปลี่ยนตามวิถีการพัฒนา อีกทั้งยังมีการก่อสร้างโครงการเขื่อนขนาดใหญ่กั้นขวางลำน้ำเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า การระเบิดแก่งแม่น้ำโขง การทำที่กั้นตลิ่งริมฝั่ง เหล่านี้ทำให้แม่น้ำโขงเปลี่ยนไป

ท่ามกลางคำถามถึงธรรมาภิบาลในการลงทุนข้ามพรมแดน ทั้งคนในพื้นที่ นักวิชาการ ภาคประชาสังคม และกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ต่างลุกขึ้นมาแสดงความห่วงกังวลถึงผลกระทบที่อาจจะทำให้ระบบนิเวศของแม่น้ำโขงพังทลายลงไป รายการฟังเสียงประเทศไทย จึงอยากชวนทุกท่านมาช่วยกันคิด ร่วมกันมอง หาทางออกไปพร้อม ๆ กัน กับแขกรับเชิญทั้ง 6 ท่าน

  1. ปิยะนันท์ จิตแจ้ง เครือข่ายกลุ่มรักษ์เชียงของ
  2. ปรีดา คงแป้น กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
  3. รศ. ดร.ชาลี เจริญลาภนพรัตน์ สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร (SIIT) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ SDG Move
  4. ดร.พูนศักดิ์ จันทร์จำปี ประธานคณะกรรมาธิการที่ดินทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม สภาผู้แทนราษฎร
  5. รศ. ดร.ชัยยุทธ สุขศรี คณะกรรมการแม่นำโขงแห่งชาติไทย (TNMC )
  6. วิฑูรย์ เพิ่มพงศาเจริญ เครือข่ายพลังงานเพื่อนิเวศในลุ่มน้ำโขง (MEE Net)

ติดตาามในรายการฟังเสียงประเทศไทย วันเสาร์ที่ 14 ธันวาคม 2567 เวลา 17.30-18.00 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/live

ดูรายการฟังเสียงประเทศไทยแบบจุใจ ในรูปแบบ UNCUT ได้แล้ววันนี้ ที่ YouTube CitizenThaiPBS

ฟังเสียงประเทศไทย

1 - 30
31 - 60
61 - 90
91 - 120
121 - 150
151 - 180
181 - 210
211 - 240
241 - 270
271 - 300
301 - 330
331 - 360
361 - 390
391 - ล่าสุด
ความมั่นคงทางอาหารอยู่ไหน เมื่อปลาหมอคางดำยังไม่หมดไป
ความมั่นคงทางอาหารอยู่ไหน เมื่อปลาหมอคางดำยังไม่หมดไป
30 พ.ย. 67
มาช่วยกันฟื้นเมล็ดพันธุ์ หลังภัยพิบัติ
มาช่วยกันฟื้นเมล็ดพันธุ์ หลังภัยพิบัติ
7 ธ.ค. 67
กำลังเล่น...
ธรรมาภิบาลข้ามพรมแดน โขง เขื่อน ไฟฟ้า
ธรรมาภิบาลข้ามพรมแดน โขง เขื่อน ไฟฟ้า
14 ธ.ค. 67
การเดินทางของภัยพิบัติจาก 20 ปีสึนามิสู่ความพร้อมของไทย
การเดินทางของภัยพิบัติจาก 20 ปีสึนามิสู่ความพร้อมของไทย
21 ธ.ค. 67
เมืองที่เราอยากใช้ชีวิตอยู่ 2025
เมืองที่เราอยากใช้ชีวิตอยู่ 2025
28 ธ.ค. 67
ย้าย - ไม่ย้าย ถ้าเราจะย้ายเมืองหนีภัยพิบัติ…กรณีแม่สาย
ย้าย - ไม่ย้าย ถ้าเราจะย้ายเมืองหนีภัยพิบัติ…กรณีแม่สาย
4 ม.ค. 68
โมเดลแก้จน คนอีสาน
โมเดลแก้จน คนอีสาน
11 ม.ค. 68
มี พ.ร.บ.อากาศสะอาด แล้วอากาศจะสะอาดขึ้นจริงไหม ?
มี พ.ร.บ.อากาศสะอาด แล้วอากาศจะสะอาดขึ้นจริงไหม ?
18 ม.ค. 68
ชีวิตจะดี ถ้าเรามีขนส่งสาธารณะที่ดี
ชีวิตจะดี ถ้าเรามีขนส่งสาธารณะที่ดี
1 ก.พ. 68
คุณเชื่อไหมว่า ประชาชนเขียนรัฐธรรมนูญได้
คุณเชื่อไหมว่า ประชาชนเขียนรัฐธรรมนูญได้
8 ก.พ. 68
เมื่อไหร่สังคมไทย จะมีที่ทางให้กับคำว่า "ชนเผ่าพื้นเมือง"
เมื่อไหร่สังคมไทย จะมีที่ทางให้กับคำว่า "ชนเผ่าพื้นเมือง"
15 ก.พ. 68

ฟังเสียงประเทศไทย

1 - 30
31 - 60
61 - 90
91 - 120
121 - 150
151 - 180
181 - 210
211 - 240
241 - 270
271 - 300
301 - 330
331 - 360
361 - 390
391 - ล่าสุด
ความมั่นคงทางอาหารอยู่ไหน เมื่อปลาหมอคางดำยังไม่หมดไป
ความมั่นคงทางอาหารอยู่ไหน เมื่อปลาหมอคางดำยังไม่หมดไป
30 พ.ย. 67
มาช่วยกันฟื้นเมล็ดพันธุ์ หลังภัยพิบัติ
มาช่วยกันฟื้นเมล็ดพันธุ์ หลังภัยพิบัติ
7 ธ.ค. 67
กำลังเล่น...
ธรรมาภิบาลข้ามพรมแดน โขง เขื่อน ไฟฟ้า
ธรรมาภิบาลข้ามพรมแดน โขง เขื่อน ไฟฟ้า
14 ธ.ค. 67
การเดินทางของภัยพิบัติจาก 20 ปีสึนามิสู่ความพร้อมของไทย
การเดินทางของภัยพิบัติจาก 20 ปีสึนามิสู่ความพร้อมของไทย
21 ธ.ค. 67
เมืองที่เราอยากใช้ชีวิตอยู่ 2025
เมืองที่เราอยากใช้ชีวิตอยู่ 2025
28 ธ.ค. 67
ย้าย - ไม่ย้าย ถ้าเราจะย้ายเมืองหนีภัยพิบัติ…กรณีแม่สาย
ย้าย - ไม่ย้าย ถ้าเราจะย้ายเมืองหนีภัยพิบัติ…กรณีแม่สาย
4 ม.ค. 68
โมเดลแก้จน คนอีสาน
โมเดลแก้จน คนอีสาน
11 ม.ค. 68
มี พ.ร.บ.อากาศสะอาด แล้วอากาศจะสะอาดขึ้นจริงไหม ?
มี พ.ร.บ.อากาศสะอาด แล้วอากาศจะสะอาดขึ้นจริงไหม ?
18 ม.ค. 68
ชีวิตจะดี ถ้าเรามีขนส่งสาธารณะที่ดี
ชีวิตจะดี ถ้าเรามีขนส่งสาธารณะที่ดี
1 ก.พ. 68
คุณเชื่อไหมว่า ประชาชนเขียนรัฐธรรมนูญได้
คุณเชื่อไหมว่า ประชาชนเขียนรัฐธรรมนูญได้
8 ก.พ. 68
เมื่อไหร่สังคมไทย จะมีที่ทางให้กับคำว่า "ชนเผ่าพื้นเมือง"
เมื่อไหร่สังคมไทย จะมีที่ทางให้กับคำว่า "ชนเผ่าพื้นเมือง"
15 ก.พ. 68

ละครดี ซีรีส์เด่น

ดูทั้งหมด
ละครบ้านชนะใจ

♫ ♫ Songs Popular ♫ ♫

ดูทั้งหมด

คลิปมาใหม่

คนดูเยอะ 👀

ดูทั้งหมด

เสน่ห์ประเทศไทย