สดร.ชวนดู "ดาวพฤหัสบดี" ใกล้โลกสุดในรอบปี 7-8 ธ.ค.นี้สดร.ชวนดูดาวพฤหัสบดีใกล้โลกที่สุดในรอบปี คืนวันที่ 7-8 ธ.ค.นี้ สังเกตได้ด้วยตาเปล่าทางทิศตะวันออกหลังดวงอาทิตย์ลับขอบฟ้า จะปรากฏสุกสว่างตลอดคืน หรือดูผ่านกล้องโทรทรรศน์ 6 จุดทั่วประเทศ
7 ธ.ค.นี้ ชวนดูดาวกลางกรุง ที่สวนเบญจกิติ คืนดาวพฤหัสบดีใกล้โลกที่สุดในรอบปีวันเสาร์ที่ 7 ธ.ค.นี้ ชวนดูดาวกลางกรุง ที่สวนเบญจกิติ คืนดาวพฤหัสบดีใกล้โลกที่สุดในรอบปี สัมผัสความงดงามของดาวบนฟ้าผ่านคาราวานกล้องโทรทรรศน์กว่าร้อยตัว และหลากหลายกิจกรรมดาราศาสตร์
“กล้องฯ ฮับเบิล” เผยภาพดาวพฤหัสฯ ในช่วงคลื่นแสงยูวีกล้องฯ ฮับเบิลเผยภาพดาวพฤหัสบดีในช่วงคลื่นแสงอัลตราไวโอเลตระหว่างปรากฏการณ์ดาวพฤหัสฯ ใกล้โลกที่สุด (Opposition)
เช็กอิน 5 จุดรอดู "ดาวพฤหัสบดีใกล้โลกที่สุดในรอบปี" 3 พ.ย.นี้สายดูดาวห้ามพลาด! 3 พ.ย.นี้ ชวนดู "ดาวพฤหัสบดีใกล้โลกที่สุดในรอบปี" สังเกตได้ด้วยตาเปล่านานตลอดคืนจนถึงรุ่งเช้า NARIT เปิด 5 หอดูดาวจ.เชียงใหม่ นครราชสีมา ฉะเชิงเทรา สงขลา และขอนแก่นฟรี
“กล้องฯ เจมส์ เวบบ์” พบลมความเร็วกว่า 500 กม./ชม. ที่บริเวณเส้นศูนย์สูตร “ดาวพฤหัสบดี”นักดาราศาสตร์ใช้ “กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เวบบ์” ตรวจพบกระแสลมที่รุนแรงเทียบเท่ากับพายุเฮอร์ริเคน (Hurricane) บริเวณเส้นศูนย์สูตรของดาวพฤหัสบดี
ปักหมุดชมดาวรับลมหนาว 2566-2567 เริ่ม 3 พ.ย.ดาวพฤหัสบดีใกล้โลกสุดในรอบปีเตรียมตัวให้พร้อม ! เทศกาลชมดาว รับลมหนาว 2566-2567 เพราะท้องฟ้าที่ปลอดโปร่งและอากาศเย็นๆ นั้นเหมาะแก่การดูดาวเป็นที่สุด ปักหมุดเริ่มวันแรก 3 พ.ย.ดาวพฤหัสบดีใกล้โลกที่สุดในรอบปี
พบวัตถุชนกับ "ดาวพฤหัสฯ" โดยนักดาราศาสตร์มือสมัครเล่นญี่ปุ่นดาวพฤหัสบดีถูกพุ่งชนโดยอุกกาบาต ตรวจจับได้โดยนักดาราศาสตร์ชาวญี่ปุ่น
ยานจูโนบินผ่านดวงจันทร์ไอโอ 30 กรกฎาคม 2023 ใกล้ที่สุดเท่าที่เคยบินมายานอวกาศจูโนสำรวจดวงจันทร์ไอโอในระยะใกล้ที่สุดในประวัติศาสตร์ที่ระยะเพียงแค่ 22,000 กิโลเมตร
NASA ชวนส่งชื่อไป "ดวงจันทร์ยูโรปา" พร้อมยาน Europa Clipper ปลายปี 2024NASA เปิดโอกาสให้คนทั่วโลกร่วมออกเดินทางท่องโลกอวกาศ โดยการส่งชื่อไปยังดวงจันทร์ยูโรปา ผ่านแคมเปญ “ข้อความในขวด” (Message in Bottle) พร้อมกับยาน Europa Clipper
5 เรื่องราวน่าสนใจของยาน JUICE กับภารกิจสำรวจดวงจันทร์ของดาวพฤหัสบดีรู้จักกับยานอวกาศ JUICE ภารกิจเรือธงขององค์การอวกาศยุโรป ที่มีเป้าหมายสำรวจดาวบริวารน้ำแข็งทั้ง 3 ของดาวพฤหัสบดี ผ่าน 5 เรื่องราวที่น่าสนใจ
ชวนดู "ดาวศุกร์" เคียง "ดาวพฤหัสบดี" หัวค่ำ 1 - 3 มี.ค.นี้ต้อนรับเดือน มี.ค. ชวนชมปรากฏการณ์ดาวเคราะห์ชุมนุม "ดาวศุกร์เคียงดาวพฤหัสบดี" ช่วงหัวค่ำ 1-3 มี.ค.66 ทางทิศตะวันตก สังเกตเห็นได้ด้วยตาเปล่าทุกภูมิภาคทั่วไทย
คืนนี้รอชม! "ดาวพฤหัสบดี" ใกล้โลกที่สุดในรอบ 59 ปี มองได้ด้วยตาเปล่าสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ ชวนชม “ดาวพฤหัสบดี” โคจรใกล้โลกมากที่สุดในรอบ 59 ปี คืนนี้ ดูได้ด้วยตาเปล่า ทุกภูมิภาคทั่วไทย
กล้องเจมส์เวบบ์ เผยให้เห็นรายละเอียด "ดาวพฤหัสบดี" สุดคมชัด ภาพล่าสุดจาก กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์เวบบ์ เผยให้เห็นรายละเอียดของ "ดาวพฤหัสบดี" สุดคมชัด ทั้งวงแหวนของดาวที่มีความสว่างน้อยกว่าตัวดาวนับล้านเท่า รวมถึงดวงจันทร์ขนาดเล็กอีก 2 ดวง
นาซาส่งยาน "ลูซี" สำรวจดาวเคราะห์น้อยโทรจันครั้งแรกองค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติสหรัฐอเมริกา ส่งยานอวกาศไปสำรวจกลุ่มดาวเคราะห์น้อยโทรจัน ที่มีวงโคจรทับซ้อนกับวงโคจรของดาวพฤหัสบดีเป็นครั้งแรก
จับตา "ดาวพฤหัสบดีเคียงดาวเสาร์" ใกล้ที่สุดในรอบ 397 ปี สดร.ชวนติดตามปรากฏการณ์สำคัญ “ดาวพฤหัสบดีเคียงดาวเสาร์” ใกล้ที่สุดในรอบ 397 ปี วันที่ 20 - 23 ธ.ค.2563 มองด้วยตาเปล่าจะเห็นเสมือนเป็นดาวดวงเดียวกัน โดยปรากฏการณ์ดาวพฤหัสบดีเคียงดาวเสาร์ จะเกิดขึ้นในทุก 20 ปี