"เขื่อนเจ้าพระยา" ระบายน้ำ 1,333 ลบ.ม./วินาที รองรับน้ำเหนือวันนี้ (25 ก.ย.67) เขื่อนเจ้าพระยา ปรับเพิ่มการระบายอีกครั้ง ให้สอดคล้องกับน้ำเหนือ ในอัตรา 1,333 ลบ.ม./วินาที ระดับน้ำท้ายเขื่อนยังต่ำกว่าตลิ่ง 4.12 ม.อาจส่งผลกระทบกับพื้นที่ริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา/แม่น้ำน้อย
เฝ้าระวังโบราณสถาน จ.เชียงใหม่ เสี่ยงถล่มช่วงฤดูฝนภาคเหนือช่วงนี้เริ่มมีฝนตกหนักต่อเนื่องในหลายพื้นที่ นอกจากต้องเฝ้าระวังอันตรายจากน้ำท่วมฉับพลัน และน้ำป่าไหลหลาก ตอนนี้ยังต้องเฝ้าระวังโบราณสถานเก่าแก่ที่อาจเสี่ยงจะพังถล่มด้วย
ขุด “ประตูช้างเผือก” เชียงใหม่ อ่านล้านนาผ่านก้อนหินและผืนดินประตูช้างเผือก ประตูสำคัญที่สุดของเมืองเชียงใหม่ หลังการขุดค้นโบราณคดีพบว่า กำแพงเมืองและประตูช้างเผือกมีการก่อสร้างหลายสมัย และนำมาสู่คำถามที่ว่า จะนำเสนอประตูช้างเผือกในรูปแบบไหน
ชาวอยุธยาโอดน้ำท่วมรอบที่ 4 ของปีนี้ สูง 3 เมตร 6 อำเภอของจังหวัดพระนครศรีอยุธยายังอ่วม บางจุดน้ำท่วมสูง 3 เมตร ชาวบ้านระบุเป็นรอบที่ 4 ของปีนี้ ด้านกรมชลประทาน ชี้ระบายน้ำในเขื่อนเจ้าพระยา า 1,000 - 1,500 ลบ.ม.ต่อวินาที พื้นที่ท่วมเป็นที่ลุ่มต่ำและอยู่นอกแนวคันกั้นน้ำ
น้ำท่วมบ้านริมแม่น้ำน้อย หลังเขื่อนระบายน้ำหลังเขื่อนเจ้าพระยาเพิ่มการระบายน้ำเป็น 1,500 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ส่งผลให้แม่น้ำเจ้าพระยาและแม่น้ำน้อยเอ่อล้นตลิ่ง เข้าท่วมบ้านเรือนประชาชน
ข้อมูล X ประชาชน จับตาสถานการณ์น้ำพาไปดูการสื่อสารของภาคพลเมืองที่ปักหมุดผ่าน Csite ตั้งแต่การเฝ้าระวัง การเผชิญดีเปรสชันโนรูตอนเข้าไทย จนอ่อนกำลังลง เป็นหย่อมความกดอากาศต่ำกำลังแรง ฝนตกหนัก น้ำท่วม แล้วอะไรคือข้อมูลที่ต้องเข้าถึง ? การรับมือควรเป็นอย่างไร ?
เตรียมพร้อม ? รับมือน้ำท่วมอีสานชวนติดตามความเคลื่อนไหวและเหตุการณ์ใกล้ตัวกับนักข่าวพลเมืองจากทุกภูมิภาค ต่อด้วยความพยายามและอีกรูปธรรมการหาทางออกพลังงานไฟฟ้าและลดค่าใช้จ่าย และการรับมือน้ำท่วม ฉบับคนหัวเวียง จ.พระนครศรีอยุธยา
เตรียมพร้อม ? รับมือน้ำท่วมอีสานชวนติดตามความเคลื่อนไหวและเหตุการณ์ใกล้ตัวกับนักข่าวพลเมืองจากทุกภูมิภาค ต่อด้วยความพยายามและอีกรูปธรรมการหาทางออกพลังงานไฟฟ้าและลดค่าใช้จ่าย และการรับมือน้ำท่วม ฉบับคนหัวเวียง จ.พระนครศรีอยุธยา