คสรท.-สรส.ชงรัฐขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ 492 บาททั่วประเทศคณะกรรมการสมานฉันท์แรงงานไทย ยื่นหนังสือถึงนายกฯ ขอขึ้นค่าแรงขั้นต่ำเป็น 492 บาท และขอให้ปรับขึ้นในอัตราเท่ากันทั้งประเทศ
กก.สมานฉันท์ตั้ง 4 ผู้ทรงคุณวุฒิ "ชวรงค์ - เตือนใจ - ปาริชาติ - ภูมิ" ที่ประชุมคณะกรรมการสมานฉันท์ มีมติเลือก 4 ผู้ทรงคุณวุฒิ ได้แก่ นายชวรงค์ ลิมป์ปัทมปาณี, นางเตือนใจ ดีเทศน์, นายภูมิ มูลศิลป์ และนางปาริชาต สถาปิตานนท์
"ชวน" หารือ คกก.สมานฉันท์ นัดแรก ไร้ฝ่ายค้านเข้าร่วม ประธานสภาฯ หารือคณะกรรมการสมานฉันท์ นัดแรก โดยไม่มีฝ่ายค้านเข้าร่วมประชุม พร้อมเชื่อว่าคณะกรรมการสมานฉันท์สามารถเดินหน้าทำงานตามเป้าหมายได้ โดยให้รายงานความคืบหน้าการทำงานทุก 2 สัปดาห์
"เทอดพงษ์-นิโรธ-สรอรรถ" ร่วมวงกรรมการสมานฉันท์พรรคร่วมรัฐบาลส่ง "นิโรธ-สรอรรถ-เทอดพงษ์" ร่วมคณะกรรมการสมานฉันท์ โดยสัดส่วนนักวิชาการรอที่ประชุมอธิการบดีคัดเลือกช่วงปลายเดือน ธ.ค.นี้ คาดประชุมนัดแรก ม.ค.2564
"ชวน" นั่งหัวโต๊ะเคาะโครงสร้าง คกก.สมานฉันท์ 21 คนจาก 7 ฝ่าย"ชวน หลีกภัย" ประธานรัฐสภา นั่งหัวโต๊ะหารือ 3 วิป เคาะโครงสร้างคณะกรรมการปรองดองสมานฉันท์แก้สถานการณ์ความขัดแย้งการชุมนุมทางการเมือง เตรียมเชิญผู้ทรงคุณวุฒิหารือทางออกประเทศ
ส.ส.เห็นต่างทาบทาม 4 อดีตนายกฯ ร่วม คกก.สมานฉันท์3 อดีตนายกฯ ตอบรับคำเชิญ "ชวน" ร่วมหาทางออกประเทศผ่าน "คณะกรรมการสมานฉันท์" ขณะที่ ส.ส.ฝ่ายรัฐบาล-ฝ่ายค้านเริ่มเห็นต่างโครงสร้างของบุคคลที่จะเข้าร่วมคณะกรรมการชุดนี้
ยังไม่เคาะ “ใคร” นั่งประธาน คกก.สมานฉันท์“ชวน” ปฏิเสธนั่งประธาน คกก.สมานฉันท์ หาทางออกประเทศ วงในเผยมีชื่อ “พิชัย-อานันท์” เป็นแคนดิเดต
แรงงานทวงถาม 10 ข้อเรียกร้องเดิม ในวันแรงงานแห่งชาติ 1 พ.ค.แรงงานแห่งชาติปีนี้ คณะกรรมการจัดงานลงมติไม่ยื่นข้อเรียกร้องหรือข้อเสนอต่อรัฐบาล แต่จะทวงถามข้อเรียกร้องเดิม เมื่อปี 2560 ซึ่งยังไม่นำไปสู่ข้อปฏิบัติ
คสรท.ยื่นหนังสือนายกฯ ย้ำค่าแรงขั้นต่ำต้องปรับขึ้นเท่ากันทั่วประเทศ คณะกรรมการสมานฉันท์แรงงานไทย (คสรท.) ยื่นหนังสือถึงนายกรัฐมนตรี แสดงจุดยืนไม่เห็นด้วยต่อการปรับขึ้นค่าแรงขั้นต่ำปีนี้ พร้อมย้ำขอให้ปรับขึ้นเท่ากันทั่วประเทศ 360 บาท
เครือข่ายแรงงานร้องขึ้นค่าจ้างขั้นต่ำ 360 บาททั่วประเทศเครือข่ายผู้ใช้แรงงาน แถลงจุดยืนคัดค้านนโยบายการปรับค่าจ้างขั้นต่ำที่จะประกาศใช้ในปี 2561 พร้อมเสนอให้ปรับขึ้นค่าจ้าง 360 บาทเท่ากันทั่วประเทศ และให้ตั้งคณะกรรมการค่าจ้างระดับชาติที่มีตัวแทนของทีมวิชาการเข้ามามีส่วนร่วม
ผู้ประกอบการรับมือแรงงานขาดแคลน-ค่าแรงพุ่งแม้ที่ผ่านมารัฐบาลจะมีการปรับค่าจ้างขั้นต่ำจากวันละ 300 เป็น 310 บาท แต่คณะกรรมการสมานฉันท์แรงงานไทยก็เสนอให้ปรับค่าแรงเป็นวันละ 600-700 บาท ผู้ประกอบการระบุว่าจะกระทบธุรกิจอย่างรุนแรง และเชื่อว่าจะไม่สามารถแก้ปัญหาขาดแคลนแรงงานได้
ขึ้นค่าแรง 700 บาทต่อวัน เสี่ยงกระทบธุรกิจบริการสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ชี้ปรับขึ้นค่าแรงงานขั้นต่ำ 300 บาท ต่อวันเป็น 700 บาทต่อวัน ตามข้อเสนอของคณะกรรมการสมานฉันท์แรงงานไทย จะกระทบต่อธุรกิจบริการ ที่ใช้ลูกจ้างจำนวนมาก ระบุตัวเลขเทียบเงินเดือนขั้นต่ำระดับปริญญาตรี
เครือข่ายแรงงาน ค้านปรับขึ้นค่าแรงขั้นต่ำแบบลอยตัวในปี 61 เครือข่ายผู้ใช้แรงงาน คัดค้านปรับขึ้นค่าแรงขั้นต่ำแบบลอยตัวในปี 2561 เรียกร้องปรับขึ้นค่าจ้างขั้นต่ำให้เหมาะสมกับค่าครองชีพในปัจจุบัน ควรอยู่ที่ 600-700 บาท และต้องเท่ากันทุกจังหวัด
คัดค้านขยายอายุรับเงินชราภาพเป็น 60 ปีคณะกรรมการสมานฉันท์แรงงานไทยคัดค้านนโยบายการขยายอายุรับเงินบำนาญชราภาพเป็น 60 ปี โดยเห็นว่า ควรเปิดเป็นระบบสมัครใจ ให้บำเหน็จร้อยละ 50 ก่อนเมื่ออายุครบ 55 ปี
ประเด็นข่าว (5 พ.ย. 63)พบกับประเด็น...เส้นทางสู่ทำเนียบขาว "โจ ไบเดน" ใกล้ขึ้น...แกนนำชุมนุมไม่ร่วมคณะกรรมการสมานฉันท์
ประเด็นข่าว (5 พ.ย. 63)พบกับประเด็น..."ชวน" เตรียมเข้าพบประธานองคมนตรีขอความเห็น..."ชวนนักศึกษาคุย ชวนผู้ใหญ่ฟัง" มองสถานการณ์บ้านเมือง
ประเด็นข่าว (4 พ.ย. 63)พบกับประเด็น...โดนัลด์ ทรัมป์ ชิงประกาศชัยชนะก่อนการนับคะแนนยุติ...แกนนำการชุมนุมประกาศไม่ร่วมคณะกรรมการสมานฉันท์
ถอดแนวคิด "สมานฉันท์" ทางออกประเทศ...?ร่วมสนทนาประเด็น...ประเมินแนวทางตั้งคณะกรรมการสมานฉันท์หาทางออกประเทศ และหนทางที่ทุกฝ่ายจะเข้าร่วมพูดคุยเพื่อคลี่คลายสถานการณ์
ประเด็นข่าว (30 ต.ค. 63)พบกับประเด็น...อายัด ไมค์ - รุ้ง - เพนกวิน ไป สน.ประชาชื่น...กลุ่มการเมืองเสียงแตกตั้งคณะกรรมการสมานฉันท์
ประเด็นข่าว (29 ต.ค. 63)พบกับประเด็น...ผู้ชุมนุมรวมตัวถนนสีลม ตึกเนชั่น...คณะกรรมการโรคติดต่อเตรียมเสนอ ศบค.ลดเวลากักตัวเหลือ 10 วัน
ปรองดอง - สมานฉันท์ ฝัน(ไม่)เป็นจริงย้อนดูเส้นทางการเมืองไทยของการตั้งคณะกรรมการ สร้างความสมานฉันท์ ปรองดองเป็น 10 ชุด แต่ครั้งนี้จะต่างจากครั้งก่อน หรือนำไปสู่ทางออกได้อย่างไร