ข้อเรียกร้องอย่างหนึ่งของกลุ่มที่เห็นต่างจากรัฐใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ก็คือ เสรีภาพในการกำหนดรูปแบบการปกครองของตนเอง แต่เรื่องนี้มักถูกตีความเป็นประเด็นละเอียดอ่อน เหตุผลหนึ่งก็เพราะในพื้นที่เป็นสังคมพหุวัฒนธรรม มีคนต่างศาสนาอาศัยอยู่ร่วมกัน
แม้จะเกิดเหตุรุนแรงใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ต่อเนื่อง แต่มีความพยายามของคนในชุมชนเมืองปัตตานี ต้องการนำเสนอแง่มุมที่สวยงามในพื้นที่ จัดกิจกรรมภาพวาดบนฝาพนังเพื่อสะท้อนการอยู่ร่วมกัน และกระตุ้นจิตสำนึกในการอนุรักษ์ธรรมชาติ จนกลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวแห่งใหม่
การเข้าถึงการศึกษาของเด็กและเยาวชนในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ มีความแตกต่างจากพื้นที่อื่นในประเทศไทยเนื่องจากเป็นสังคมพหุวัฒนธรรม ประกอบด้วยผู้นับถือศาสนาพุทธและศาสนาอิสลาม ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการกำหนดวิถีชีวิตประจำวันที่แตกต่างกัน
โครงการ "ไทยแลนด์ ลองสเตย์" ที่เกิดขึ้นจากกองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ นำเสนอเรื่องราวความเป็นพหุวัฒนธรรมผ่านสารคดี และยังมีกิจกรรมเพื่อส่งเสริมอัตลักษณ์และความหลากหลายทางวัฒนธรรม ชมย้อนหลังรายการ "วันใหม่วาไรตี้" ในช่วง "คุยกันวันใหม่" ได้ที่ www.thaipbs.or.th/WanmaiVarietyWanmaiTalk
พหุวัฒนธรรม คำที่มักถูกพูดถึงจนคุ้นชินในความหมายของความหลากหลายของสังคม แต่ถ้าพหุวัฒนธรรมส่งผลต่อความขัดแย้ง ความไม่เท่าเทียมและเป็นธรรม ผลจะเป็นอย่างไร ติดตามชมรายการ Big Story เรื่องใหญ่ Thai PBS วันพฤหัสบดีที่ 5 ธันวาคม 2562 เวลา 21.00 - 21.45 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมผ่านทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/live
ร่วมเดินทางเปิดสำรับอาหารที่ชาวมุสลิมแห่งเบตงขนานนามว่าเป็นอาหารมุสลิม "หลังเขา" ที่ตำบลอัยเยอร์เวง แล้วเดินทางต่อไปลิ้มรสชาติแห่งชีวิตในตำรับอาหารจีนที่ยังคงโลดแล่นอยู่ในวิถีชาวจีนหลากภาษาในเมืองเบตง ติดตามชมในรายการ Spirit of Asia ตอน รสชาติของชีวิตในเบตง วันอาทิตย์ที่ 22 ก.ย. 62 เวลา 16.30 น. รับชมออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live