ผู้เชี่ยวชาญด้านภัยพิบัติ ระบุ ภาคใต้ยังต้องระวังอันตรายจากฝนตกหนักในเดือนนี้ เพราะหลังจากนี้ยังมีโอกาสที่ภาคใต้จะยังมีฝนตกหนักอีก พร้อมแนะนำให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเร่งระบายน้ำออกจากพื้นที่ที่ถูกน้ำท่วมในตอนนี้เพื่อรองรับฝนที่จะตกลงมาอีกครั้ง
ประเทศไทยได้รับผลกระทบจากอิทธิพล “พายุซูลิก” แม้ว่าจะอ่อนกำลังลงเป็นหย่อมความกดอากาศต่ำ แต่ยังมีฝนตกหนักหลายพื้นที่ แต่หากเรามา วัดพลังความรุนแรง “พายุยางิ" ที่ถล่มแม่สาย จ.เชียงราย และ “พายุซูลิก" แม้ฝนครั้งนี้จะไม่รุนแรงเท่า แต่เรายังไว้วางใจได้หรือไม่ ชวนวิเคราะห์เพิ่มเติม กับ รศ. เสรี ศุภราทิตย์ ผู้เชี่ยวชาญ IPCC
รศ.เสรี ศุภราทิตย์ ผู้เชี่ยวชาญ IPCC ประเมินความรุนแรงของ "พายุยางิ" ว่า จะทำให้ภาคเหนือและอีสานเกิดฝนตกหนักสะสม 100-150 มิลลิเมตรต่อวัน แม้จะเป็นเพียงหางพายุ แต่พื้นที่ลุ่มต่ำภาคกลางต้องเตรียมรับมือกับน้ำเหนือระลอก 2 ปลายเดือน ก.ย. นี้ และตามแบบจำลองคาดว่า จะมีพายุอีก 1 ลูกจ่อเข้าไทย หลังวันที่ 15 ต.ค.
เมื่อน้ำเค็มรุกตัวเร็วและรุนแรงในแม่น้ำเจ้าพระยา เป็นปัญหาที่คาดว่าจะมีต่อเนื่องไปจนถึงกลางปี 2563 ประชาชนควรปรับตัว และรับมือกับสถานการณ์น้ำทะเลหนุนสูงเกินกว่าปกติ ที่มีต้นเหตุมาจากวิกฤตภัยแล้งได้อย่างไร ติดตามทั้งหมดได้ในรายการรู้สู้ภัย Don't Panic วันเสาร์ที่ 11 ม.ค. 63 เวลา 11.00 - 11.30 น. ทางไทยพีบีเอส รับชมออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live
เมื่อการสื่อสารคือพื้นฐานของการบรรเทาภัยพิบัติ "15 ปี สึนามิ" แม้ว่าโลกของการสื่อสารจะเปลี่ยนแปลงไป แต่หัวใจของการสื่อสารไม่เคยเปลี่ยนแปลง ติดตามทั้งหมดได้ในรายการรู้สู้ภัย Don't Panic วันเสาร์ที่ 7 ธ.ค. 62 เวลา 11.00 - 11.30 น. ทางไทยพีบีเอส รับชมออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live