การกินเค็มหรือการบริโภคโซเดียมในปริมาณสูงอย่างต่อเนื่อง เป็นหนึ่งในสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดโรคไตเรื้อรัง ผู้ที่มีค่าไตสูงจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน เพื่อช่วยลดความเสี่ยงต่อโรคไตและส่งเสริมให้ไตทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพในระยะยาว
กรมบัญชีกลางปรับหลักเกณฑ์และอัตราค่ารักษาผู้ป่วยในตามกลุ่มวินิจฉัยโรคร่วม สำหรับผู้ป่วยโรคไตวายเฉียบพลันที่อยู่ในภาวะวิกฤตและได้รับการบำบัดทดแทนไตแบบต่อเนื่อง เบิกจ่ายค่ารักษาวันแรกได้เท่าที่จ่ายจริงไม่เกิน 15,000 บาท เริ่มวันที่ 1 เม.ย.นี้
สมุนไพรถั่งเช่าสีทองมีสรรพคุณเป็นยา ตามศาสตร์แพทย์แผนจีนสามารถช่วยในเรื่องการรักษาโรค ช่วยให้ค่าความดันดีขึ้น ป้องกันเลือดไหลไม่หยุด และยังช่วยบรรเทาอาการขี้ร้อนขี้หนาวให้ดีขึ้นอีกด้วย แต่ยังมีข้อสงสัยว่าการรับประทานสมุนไพรนี้จะทำให้เสี่ยงเป็นไตวายจริงหรือไม่ ติดตามความรู้จาก รศ.นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวชศิริ ประธานเครือข่ายลดบริโภคเค็ม อ.ประจำสาขาวิชาโรคไต คณะแพทย์ศาสตร์ รพ.รามาธิบดี
พูดคุยและสอบถามกันสด ๆ ในประเด็น “แนวทางการรักษาโรตไต” โดย นพ.ปรัชญา พุมอุทัยวิรัตน์ แพทย์อายุศาสตร์โรคไต รพ.จุฬาภรณ์ ต่อด้วยช่วงปรับก่อนป่วย มาฟังคำแนะนำและข้อพึงปฏิบัติ “ระวังการกินแคลเซียมเสริมเกิน” กับหมอต้น นพ.กฤษดา ศิรามพุช ติดตามชมในรายการคนสู้โรค วันอังคารที่ 10 กันยายน 2562 เวลา 15.05 – 15.30 น. ทางไทยพีบีเอส หรือ รับชมสดออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/live
ยาประเภทไหนที่ส่งผลต่อการทำงานของไต อาการใดบ้างเป็นสัญญาณเตือนไตวาย อาหารบำรุงไตมีอะไรบ้าง? พร้อมอัปเดตคลิปฮอตประเด็นร้อน ในช่วงรู้เทรนด์โซเชียล ติดตามได้ในรู้เท่ารู้ทัน วันอังคารที่ 3 ตุลาคมนี้ เวลา 07.00 - 08.00 น. ทางไทยพีบีเอส รับชมทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live