ถ่ายรูปข้อมูลบัตรประชาชน ผิด PDPA หรือไม่? เจ้าของมีสิทธิแค่ไหนการถ่ายรูปบัตรประชาชนเข้าข่ายความผิดตามกฎหมาย PDPA ทำเกินความจำเป็นหรือไม่ ขณะที่เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลมีสิทธิทักท้วง สคส.ชี้การละเมิดผิด พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ กฎหมายอาญา
ตำรวจยศ "ร.ต.ต." มีอำนาจตรวจบัตร ปชช. - เอกชนเจ้าตัวต้องยินยอมกรมการปกครองแจงตรวจบัตร ปชช.เพื่อคัดกรองเกณฑ์อายุเข้าสถานบันเทิง ห้ามเก็บข้อมูล-ถ่ายรูปบัตร ชี้อำนาจฝ่ายปกครอง-ตำรวจยศ ร.ต.ต.ขึ้นไปมีสิทธิเรียกดู ส่วนเอกชนต้องได้รับความยินยอมจากเจ้าตัว
ขีดเส้น 3 วันผับดังแจงปมถ่ายบัตร ปชช.แจ้งความ 65 คนสคส.ขีดเส้น 3 วันผับดังย่านบางใหญ่ แจงปมถ่ายบัตร ปชช.งัดกฎหมาย PDPA หลังเข้าแจ้งความ 65 คนหากเสียหายพร้อมคุ้มครอง ขณะที่ฝ่ายปกครองขอนแก่น ลงตรวจสอบผับยันสแกนบัตรจริงแต่ไม่มีข้อมูลส่วนบุคคลหลุด
ห้างดังถูกแฮกข้อมูลส่วนบุคคล 5 ล้านราย รมว.ดีอีสั่งสอบรมว.ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม สั่งการ สคส. ตรวจสอบกรณีห้างดังถูกแฮกข้อมูลส่วนบุคคล 5 ล้านรายชื่อ
กรมวิทย์ฯชี้ "ถุงโตเกียวเอกสาร OPD" ผิด PDPA-เสี่ยงโรคทางเดินอาหารกรมวิทย์บริการ ชี้ "ถุงโตเกียว" พับจากเอกสาร OPD อาจมีเชื้อโรคติดอยู่ในกระดาษ เสี่ยงโรคติดต่อทางเดินอาหาร ย้ำ! ไวรัสตับอักเสบบีไม่ติดทางอาหาร แต่การนำประวัติส่วนบุคคลของผู้ป่วยมาทำถุงห่ออาหาร ผิดพ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
"หมอชลน่าน" ยันไม่ใช่ข้อมูลรพ.สังกัด สธ.หลุด 2.2 ล้านชื่อ"หมอชลน่าน" ยันไม่ใช่ข้อมูล รพ.สังกัด สธ.หลุด หลังเพจดังแฉ แฮ็กเกอร์เจาะผู้ป่วยได้แล้ว ไม่ขอท้าทาย แต่ต้องรับมือ สั่งคุมเข้มแฮกเกอร์โจมตี 30 บาทพลัส
เร่งตรวจสอบ GOD user อ้างขายข้อมูลสธ.หลุด 2.2 ล้านชื่อรอสธ.แจงปม "GOD user" อ้างขายข้อมูลหลุด 2.2 ล้านชื่อ หลังเคยสั่งยกเครื่อง Cyber Security ล้อมคอกมาแล้ว ขณะที่พบว่าช่วงปี 2561-2566 พบเหตุการณ์ข้อมูลรั่วไหล 6 ครั้งหนักสุด 9near อ้างขาย 55 ล้านรายชื่อ
บก.ตม.2 สั่งห้าม จนท.เปิดเผยข้อมูลบุคคลโดยไม่ได้รับอนุญาตผู้บังคับการตำรวจตรวจคนเข้าเมือง 2 สั่งห้ามเจ้าหน้าที่ในสังกัดที่รับผิดชอบข้อมูลส่วนบุคคลเข้า-ออกประเทศ ให้ข้อมูลกับบุคคลหรือหน่วยงานภายนอกโดยไม่รับอนุญาต
"ชัยวุฒิ" แนะพลเมืองดีถ่ายภาพ-คลิปหลักฐานส่ง ตร. อย่าโพสต์เองรมว.ดีอีเอส ย้ำเจตนารมณ์กฎหมาย PDPA คุ้มครองข้อมูลประชาชนที่ให้ไว้กับร้านค้า-องค์กรต่างๆ ไม่ให้รั่วไหล ส่วนกรณีภาพหรือคลิปเหตุการณ์ผิดปกติที่ถ่ายเป็นหลักฐานควรส่งให้ผู้เกี่ยวข้องตามกฎหมาย โพสต์เองเสี่ยงถูกฟ้องร้อง
"ทนายษิทรา" แนะถ่ายคลิปหลักฐานคดีอย่างไร ไม่โดนฟ้อง PDPA"ทนายษิทรา" ชี้ถ่ายคลิปหลักฐานทางคดี ไม่จำเป็นต้องได้รับความยินยอม แต่นำมาโพสต์-เห็นหน้าบุคคล อาจเข้าข่ายหมิ่นประมาท ผิดกฎหมายใหม่ PDPA แนะพลเมืองส่งหลักฐานให้ตำรวจ
"รมว.ดีอีเอส" ย้ำสื่อนำเสนอข่าวได้ไม่เข้าข่ายผิดกฎหมาย PDPA รมว.ดีอีเอส ย้ำ PDPA มุ่งคุ้มครองสิทธิของประชาชน ย้ำสื่อมวลชนนำเสนอข่าวไม่เข้าข่ายเป็นความผิดตามกฎหมาย โดยต้องปฏิบัติตามกรอบจริยธรรม ขณะที่เจ้าหน้าที่กฎหมายให้อำนาจในการปฏิบัติหน้าที่อยู่แล้ว
กกร.เสนอรัฐทบทวนการใช้บทลงโทษกฎหมาย PDPAที่ประชุม กกร.เห็นว่าแนวปฎิบัติการใช้กฎหมาย PDPA ยังไม่มีความชัดเจนและมีความเสี่ยงสูงต่อการถูกลงโทษ เสนอภาครัฐพิจารณาทบทวนการไม่ใช้บทลงโทษ จนกว่าจะออกกฎหมายลำดับรองที่จำเป็นครบถ้วน
"ชัยวุฒิ" ย้ำกฎหมาย PDPA ใช้ปกป้องข้อมูลส่วนบุคคล"รมว.ดีอีเอส" ย้ำกฎหมาย PDPA มีไว้เพื่อปกป้องสิทธิเสรีภาพ แต่เปิดเผยข้อมูลสาธารณะหรือเรื่องที่เจ้าตัวยินยอมได้ ขณะที่การถ่ายรูปติดคนอื่นถ้าไม่ทำให้เสียหายถือว่าไม่ผิด
เริ่มวันนี้ บังคับใช้กฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล เริ่มวันนี้ 1 มิ.ย. พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 หรือ PDPA มีผลบังคับใช้ ผู้ใดหรือองค์กรใดไม่ปฏิบัติตาม มีโทษทั้งทางแพ่ง โทษทางอาญา และโทษทางปกครอง
ทนายตั้ม มีคำตอบ "เซลฟี่ติดคนอื่น" ไม่ผิดกฎหมาย PDPA"ทนายตั้ม" มีคำตอบหลังเกิดข้อกังวลกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (PDPA) จะมีผลบังคับใช้วันแรก 1 มิ.ย.นี้ ระบุเซลฟี่ติดบุคคลอื่น ไม่ผิดกฎหมาย เพราะไม่มีเจตนาแอบถ่าย แต่หากเจ้าของภาพไม่สบายใจขอให้ลบทิ้งได้