สงครามและความขัดแย้งที่ปะทุขึ้นในหลายจุดของโลก ทำให้หลายประเทศหันมาเร่งพัฒนาและสั่งสมอาวุธกันมากขึ้น รวมถึง "อินเดีย" ที่เพิ่งประกาศความสำเร็จในการทดสอบขีปนาวุธหลายหัวรบ ถือเป็นการส่งสัญญาณอันตรายต่อโลกให้เข้าสู่ยุคสงครามนิวเคลียร์
จริงหรือไม่กับความเชื่อที่ว่าวิทยาศาสตร์และงานวิจัย ต้องนำมาซึ่งธุรกิจ การสนับสนุนงานวิจัยเชิงการค้ามีความจำเป็นต่อประเทศแค่ไหน มองกรณีของ CERN องค์การวิจัยนิวเคลียร์ยุโรป หน่วยงานวิจัยที่ทำงานวิทยาศาสตร์พรมแดน (Frontier Science) ที่น่าตั้งคำถามว่า เหตุใด
ในยุคสงครามเย็น การเผชิญหน้าระหว่างสหรัฐฯ กับสหภาพโซเวียตที่ตึงเครียดมากที่สุดและเสี่ยงเกิดสงครามนิวเคลียร์มากที่สุด หนีไม่พ้น วิกฤตขีปนาวุธคิวบา เมื่อปี ค.ศ. 1962 ซึ่งสหภาพโซเวียตในขณะนั้นประจำการอาวุธนิวเคลียร์ประชิดหลังบ้านสหรัฐฯ ดังนั้นจึงไม่แปลกที่การเยือนคิวบาของเรือรบรัสเซียรุ่นใหม่จะถูกจับตามองไปทั่วโลก