คนไทยบริโภคน้ำตาลลดลง เหลือ 23 ช้อนชาต่อวันสสส.เผย คนไทยบริโภคน้ำตาลลดลง จาก 27 ช้อนชาต่อวัน เหลือ 23 ช้อนชาต่อวัน หลังมีการขับเคลื่อนมาตรการทางภาษีน้ำตาลในอาหาร-เครื่องดื่ม โดยพบสัดสัวนของผลิตภัณฑ์อาหารปรับสูตรลดน้ำตาลเพิ่มมากขึ้น ร้อยละ 35
โสดเพิ่ม แรงงานลด อายุน้อยร้อยโรค สุขภาพคนไทยปี 67สสส.เปิดข้อมูล 7 พฤติกรรมทำสังคมเปลี่ยน รับมือคนโสดเพิ่มไร้วัยกระทบแรงงานในอนาคต อายุน้อยป่วยเบาหวาน ปัญหาเยาวชนเล่นพนันออนไลน์ และวิกฤตโลกเดือด
ครม.ยังไม่ขึ้น "ภาษีความหวาน" ระยะ 3 ชะลอออกไปอีก 6 เดือนครม.เห็นชอบขยายเวลาขึ้นอัตราภาษีความหวานตามปริมาณน้ำตาล ระยะที่ 3 ออกไปอีก 6 เดือน ตั้งแต่ 1 ต.ค.65 - 31 มี.ค.66
WHO หนุนไทยปรับขึ้นภาษีความหวาน ลดป่วยโรค NCDsสสส.ชวนคนไทยบริโภคหวานน้อยลง หลังแพทย์เตือนคนไทยป่วยโรค NCDs โดยรัฐจ่ายค่ารักษาไม่ต่ำกว่า 4-5 แสนล้านบาท/ปี ด้าน WHO หนุนปรับขึ้นภาษีเครื่องดื่มที่มีน้ำตาลตามกรอบเวลาเดิม กระตุ้นให้ภาคธุรกิจปรับสูตรลดน้ำตาล
เครื่องดื่มความหวานจ่อปรับราคา รับต้นทุน-ภาษีใหม่ ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม เป็นต้นไป เครื่องดื่มความหวานบางรายการ จะถูกเก็บภาษี เพิ่มขึ้น ตั้งแต่ 5 สตางค์ - 1 บาท พร้อมปรับเกณฑ์ “ฟังก์ชันนัลดริงก์ ” ห้ามเติมวัตถุปรุงแต่ง ขณะที่ สรรพสามิต เชื่อภาระภาษีอัตราใหม่ ไม่กระทบผู้บริโภค
ยกโมเดล "ฮังการี" รีดภาษีร้อยละ 15 ประชาชนปรับตัวลดเค็มประธานเครือข่ายลดบริโภคเค็ม ชี้ ตัวอย่างฮังการี เก็บภาษีเค็มผลิตภัณฑ์ที่มีความเค็มเกินร้อยละ 10-15 ส่งผลประชาชนปรับตัวลดเค็ม พร้อมยืนยันภาษีเค็มในไทยไม่ส่งผลกระทบผู้ค้ารายย่อย หวังประชาชนสุขภาพดีขึ้น
10 ปีเครือข่ายไม่กินหวาน ผู้ปิดทองหลังพระ "ภาษีความหวาน" "ภาษีความหวาน" ในมุมของทันตแพทย์หญิงปิยะดา ประเสริฐสม เบื้องหลังการผลักดันให้คนไทยมีสุขภาพดีจากการลดการบริโภคน้ำตาลในเครื่องดื่ม กว่าจะสำเร็จต้องใช้เวลาเกือบ 10 ปี
"คลัง"เสนอครม.เก็บภาษีค่าความหวานเครื่องดื่ม 111 รายการกระทรวงการคลัง ชงเสนอ ครม.เก็บภาษีค่าความหวานเครื่องดื่ม 111 รายการ ครอบคลุมน้ำอัดลม ชาเขียว น้ำผลไม้ เครื่องดื่มชูกำลัง เพิ่มตั้งแต่ 10 สตางค์จนถึง 1 บาท เนื่องจากมีค่าความหวานสูง และทำลายสุขภาพของประชาชน โดยจะเริ่มมีผลจัดเก็บในอีก 2 ปีข้างหน้า