ราชกิจจาฯ ประกาศแล้ว "พ.ร.บ.สมรสเท่าเทียม" มีผล 22 ม.ค.68กฎหมายสมรสเท่าเทียมประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว มีผลบังคับใช้หลังจากนี้ 120 วัน หรือตั้งแต่ 22 ม.ค.2568 เป็นต้นไป
รู้จักกฎหมายฟ้องชู้ ไม่ได้ยกเลิก แต่ให้สิทธิสอดคล้องสมรสเท่าเทียมหลายคนเข้าใจว่า กฎหมายฟ้องชู้เรียกค่าทดแทนตามที่ศาลรัฐธรรมนูญมีคำวินิจฉัยออกมานั้น เป็นการยกเลิกการฟ้องชู้ จนเกิดความเข้าใจผิดว่าจะทำให้การเป็นชู้เสรียิ่งขึ้น แท้ที่จริงเจตนารมณ์เพื่อให้การฟ้องครอบคลุมทุกเพศตามหลักการของกฎหมายสมรสเท่าเทียม
นานาชาติร่วมยินดี "ไทย" ผ่านร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียมเอกอัครราชทูต สื่อต่างชาติและหน่วยงานในต่างประเทศ ร่วมแสดงความยินดีหลังรัฐสภาของไทยผ่านร่าง พ.ร.บ.สมรสเท่าเทียม
ตร.จัดกำลัง 100 นาย ดูแลงาน Bangkok Pride 2024 ตำรวจวางกำลัง 100 นาย อำนวยความสะดวกดูแลงาน Bangkok Pride 2024 ขอผู้ไม่เกี่ยวข้องหลีกเลี่ยงการจราจร บริเวณแยกปทุมวัน-ราชประสงค์ ช่วงบ่ายถึงเย็นวันนี้ คาดมีรถมาก
ทำไมการเรียนรู้ "เพศหลากหลาย" ในห้องเรียนจึงสำคัญ?ปัจจุบันนี้ผู้ปกครองหลายคน อาจเจอปัญหาลูกถูกกลั่นแกล้งล้อเลียนจากเพื่อนๆ จนไม่อยากไปโรงเรียน เพราะถูกล้อว่าเป็นเพศหลากหลาย
ไทยพีบีเอส ถ่ายทอดสด Bangkok Pride Festival 2024 ให้ชมทั่วโลก 1 มิ.ย. นี้ ไทยพีบีเอส จับมือ ภาคีฯ เปิดพื้นที่ “Public Forum” ต้อนรับ Pride Month เดือนแห่งความภาคภูมิใจของกลุ่มความหลากหลายทางเพศ เตรียมพร้อมถ่ายทอดสด Bangkok Pride Festival 2024 ให้ชมทั่วโลก ทุกช่องทางออนไลน์ Thai PBS
เสียงสะท้อนความหลากหลาย ปลุกสังคมไทยเปลี่ยนทัศนคติต่อ LGBTQIAN+บยสส.รุ่น 3 เปิดเวทีสัมมนาสาธารณะ สื่อสารอย่างไรให้เท่าเทียม: สิทธิของ LGBTQIAN+ กับการเปิดรับของสังคม หวังร่วมสร้างความเข้าใจในสังคมไทย เพื่อเปิดรับความหลากหลายอย่างเท่าเทียม
สำรวจสถานะ "กฎหมายสมรสเท่าเทียม" ทั่วโลกการผ่านกฎหมายสมรสเท่าเทียมในไทยถือเป็นก้าวสำคัญและยกระดับความเท่าเทียมทางเพศ แต่หากมองภาพรวมของเอเชีย "ไทย" เป็นเพียงประเทศที่ 3 ในเอเชียเท่านั้น
สภาฯ คว่ำร่างกฎหมาย "เปลี่ยนคำนำหน้านาม"สภาคว่ำร่างกฎหมาย คำนำหน้านาม เห็นด้วย 152 ไม่เห็นด้วย 256 เสียง งดออกเสียง 1 ไม่ลงคะแนน 1 เสียง "ธัญวัจน์" ย้ำต้องคืนเจตจำนงการระบุเพศให้ LGBTQ ด้าน "เพื่อไทย" ค้านห่วงปัญหาอาชญากรรม
ทั่วโลกฉลอง "เทศกาลไพรด์" นิวยอร์กเซ็นรวด 5 กม. คุ้มครอง LGBTQ+สุดสัปดาห์ที่ผ่านมา หลายประเทศจัดการเดินขบวนเทศกาลไพรด์ประจำปี บรรยากาศคึกคักและเต็มไปด้วยสีสันตลอดงาน ทำให้ผู้มีความหลากหลายทางเพศได้ออกมาแสดงออกจุดยืนและความภาคภูมิใจในตนเอง รวมทั้งแสดงความกังวลเกี่ยวกับสิทธิที่ควรจะได้รับด้วย
เริ่มแล้ว Bangkok Pride 2023 สุดคึกคัก "คนดัง-นักการเมือง" ร่วมงานคับคั่งเทศกาลไพรด์ เป็นช่วงเวลาที่ทั่วโลก และไทยมีกิจกรรมยิ่งใหญ่ในเดือน มิ.ย.ของทุกปี ปีนี้กรุงเทพฯ จัดยิ่งใหญ่ มีบุคคลมีชื่อเสียง และนักการเมืองมาร่วมงานกันอย่างคับคั่ง เพื่อร่วมกันเรียกร้องสิทธิความเท่าเทียมให้เกิดขึ้นในสังคมไทย
กลุ่ม LGBTQ+ ภูเก็ต เรียกร้อง รบ.ใหม่ขับเคลื่อน "สมรสเท่าเทียม"กลุ่มผู้มีความหลากหลายทางเพศ หรือ LGBTQ+ จ.ภูเก็ต เรียกร้องรัฐบาลใหม่ขับเคลื่อนกฎหมาย "สมรสเท่าเทียม" เพื่อให้เกิดความเสมอภาค ขณะที่หน่วยงานภาคเอกชนต่างๆ ในพื้นที่ ร่วมใจกันจัดหลากหลายกิจกรรมในช่วง Pride Month
"ธงสีรุ้ง" สัญลักษณ์ความเท่าเทียมบนความหลากหลายของ LGBTQ+"มิถุนายน" เป็นเดือนเฉลิมฉลองให้กับกลุ่ม LGBTQ+ และ "ธงสีรุ้ง" ถูกนำมาประดับประดาเต็มพื้นที่ เกือบ 50 ปีที่ธง 6 สีนี้สะบัดพริ้วบ่งบอกถึงความภาคภูมิใจของกลุ่มผู้มีความหลากหลายทางเพศ ซึ่งถูกสร้างจากนักขับเคลื่อนสิทธิมนุษยชนของเกย์ Gilbert Baker
โรงเรียนพื้นที่(เสี่ยง)ไม่ปลอดภัยกับเยาวชนหลากหลายทางเพศอีกเรื่องหนึ่งที่สะเทือนใจช่วงต้นปี 66 คือ กรณี เด็กหญิงวัย 14 ของโรงเรียนแห่งหนึ่งในจังหวัดบุรีรัมย์ ตัดสินใจจบชีวิตตัวเองจากปัญหาในชีวิต และหนึ่งในสาเหตุสำคัญ คือ การถูกเพื่อนบูลลี่
ประเด็นข่าว (17 พ.ย. 64)พบกับประเด็น...ก้าวไกลรับข้อเสนอในร่างรัฐธรรมนูญ...ศาลรัฐธรรมนูญชี้กฎหมายแพ่งสมรสชายหญิง ไม่ขัดรัฐธรรมนูญ
ประเด็นข่าว (26 พ.ค. 63)พบกับประเด็น...ประชาชน 5 ภูมิภาคยื่นหนังสือขอยกเลิก พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ...ความเงียบ = ความรุนแรงในครอบครัว