เศรษฐกิจโลกโตต่อ จับตาการเมืองสหรัฐฯ ยังผันผวน ทั้งนโยบายประเทศเศรษฐกิจหลัก-ความเสี่ยงด้านภูมิรัฐศาสตร์ KKP แนะลงทุนหุ้นคุณภาพสูงลดความเสี่ยง ชี้หุ้นกลุ่ม AI ยังมีแนวโน้มเติบโต จับตาค้าปลีก โรงแรม อาหาร และสื่อสารมาแรง ปัจจัยหนุนจากท่องเที่ยว
“พาณิชย์”เผย เงินเฟ้อ ก.พ.67 ติดลบ 0.77% ลดต่อเนื่อง 5 เดือน เนื้อสัตว์-ผักสดปรับลดราคา อานิสงส์มาตรการรัฐ ยอดรวม 2 เดือน ลด 0.94% คาด มี.ค.-เม.ย. ติดลบต่อ แต่พ.ค. จะฟื้นหลังมาตรการลดน้ำมัน ค่าไฟ สิ้นสุด คงเป้าทั้งปี ติดลบ 0.3% ถึงเพิ่ม 1.7%
ในช่วงที่ผ่านมา ข่าวการขึ้นดอกเบี้ยนโยบายจากทางธนาคารแห่งประเทศไทยไปอยู่ที่ 2.50% ทำให้หลายคนเกิดคำถามจากที่สภาวะเศรษฐกิจของประเทศไทยไม่ได้มีเงินเฟ้อรุนแรงเหมือนกับต่างประเทศ แนวโน้มดอกเบี้ยนโยบายปี 2567 ผ่านมุมมองของธนาคารแห่งประเทศไทยจะเป็นอย่างไร ? ร่วมพูดคุยกับ คุณภูริชัย รุ่งเจริญกิจกุล ผู้อำนวยการฝ่ายนโยบายการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย
ในช่วง 1-2 ปีที่ผ่านมา ภาวะเงินเฟ้อกดดันทั่วโลก ธนาคารหลายแห่งต้องปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย ทำให้ผลตอบแทนไม่ว่าจะเป็นดอกเบี้ยพันธบัตร หรือดอกเบี้ยจากเงินฝากปรับตัวสูงขึ้น การลงทุนตลอดหุ้นในภาวะแบบนี้ยังคุ้มหรือไม่ ? ควรลงทุนอย่างไร ? ร่วมพูดคุยกับ ดร.ศรพล ตุลยะเสถียร รองผู้จัดการ หัวหน้าสายงานวางแผนกลยุทธ์องค์กร และหัวหน้าสายงานพัฒนาความยั่งยืนตลาดทุน ตลท.
ในช่วงนี้ทุกประเทศทั่วโลกได้รับผลกระทบจากภาวะเงินเฟ้อ ทำให้ค่าครองชีพสูงขึ้น แต่หากจะพูดถึงรายได้ของประชากรทั่วโลก กลับไม่ได้ขยับตัวสูงขึ้นไปกว่าเดิมมากนัก ในสถานการณ์ที่ค่าครองชีพกับรายได้ไม่สมดุลกันแบบนี้เราควรทำอย่างไร ? การลงทุนของต่างชาติในไทยจะเพิ่มโอกาสให้แรงงานไทยได้อย่างไร ?
ในช่วงนี้ปัญหา "เงินเฟ้อ" ถูกพูดถึงอย่างแพร่หลาย หลังจากเศรษฐกิจโลกกลับมาฟื้นตัว แต่หากมองผ่านภาพยนตร์ฮอลลีวูดเรื่องหนึ่ง ที่พูดถึงเงิน 370,000 ดอลลาร์สหรัฐ ในปี 1966 จะเห็นว่าปัจจุบันค่าเงินเพิ่มสูงขึ้น และต่างกันถึง 8 เท่า บทเรียนของภาพยนตร์เรื่องนี้ในเชิงเศรษฐศาสตร์ได้ให้อะไรกับผู้ชมบ้าง ?
ในช่วงนี้หลายประเทศเข้าสู่ภาวะ “ดอกเบี้ยขาขึ้น” รวมถึงไทยที่ถูกกดดันจากเงินเฟ้อ และจากประเทศต่าง ๆ ที่ปรับดอกเบี้ยแล้ว เมื่อมีการปรับขึ้นอัตรา "ดอกเบี้ยนโยบาย" จะส่งผลต่อผู้ที่กู้เงินซื้อบ้าน ซื้อรถ รวมไปถึงค่าผ่อนจ่ายในแต่ละงวดอย่างไรกันบ้าง ?