เดือนหน้า "คลัง" เตรียมทบทวนเกณฑ์ผู้เข้าร่วม "โครงการบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ" ขณะที่นักเศรษฐศาสตร์ธ.กรุงเทพ ถอดบทเรียนพบว่า รบ.มีแนวโน้มใช้งบประมาณดำเนินโครงการแจกเงินผู้มีรายได้น้อยเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ หวังเป็นเครื่องมือทางการเมือง แต่แก้ปัญหาความยากจนไม่ได้
บพท. จับมือ ม.กาฬสินธุ์ ฉุดชีวิตคนกาฬสินหลุดพ้นวิกฤตความจน บนฐานทุน และเสริมเติมศักยภาพการให้เกิดรายได้ ผ่านโรงเรียนปลูกผักแก้จน พร้อมกับพัฒนาระบบสืบค้นตรวจสอบหาครัวเรือนยากจน ที่ครอบคลุม เพื่อนำเข้าระบบส้่งต่อความช่วยเหลือไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง
รายงานพิเศษ “ห้องเรียนฟื้นฟูหลังโควิด-19” ของกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) เปิดเผย ภาวะฉุกเฉินทางการเรียนรู้เพราะโควิด-19 “เด็กประถมต้น” มีพัฒนาการถดถอยเทียบเท่าอนุบาล และภาวะกล้ามเนื้อบกพร่อง หากไม่เร่งฟื้นฟู โอกาสล้มเหลวในอนาคตสูง
ถ้าเลือกได้คงไม่มีใครอยากอยู่ในสลัมกลางกรุง “ข้าว” เด็กสาววัย 17 ต้องสู้ทุกทางเพื่อให้ตัวเองได้เรียนหนังสือ โดยมีหวังว่าการศึกษาจะพาครอบครัวอีก 7 คน ไปสู่อนาคตที่ดีกว่า ออกจากชีวิตสลัมกลางกรุงให้ได้...แต่แม้จะเรียนฟรี ทุกอย่างในชีวิตก็ยังต้องมีค่าใช้จ่าย ทว่ายิ่งเวลาผ่านไป ค่าใช้จ่ายด้านการศึกษายิ่งเพิ่มขึ้น สวนทางกับเงินที่หาได้ยาก อนาคตทางการศึกษาอาจดับลงพร้อมความหวังที่จะพาครอบครัวหลุดพ้นจากความยากจน
“เกษตรกร” คือ กลุ่มเปราะบางที่สุดกลุ่มหนึ่งต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) ไม่ว่าจะเป็น น้ำท่วม ความแห้งแล้ง ฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาล อุณหภูมิที่สูงขึ้น ฯลฯ Big Story เรื่องใหญ่ Thai PBS ขอพาทุกคนไปสำรวจช่องว่างความเหลื่อมล้ำ ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศสร้างความเหลื่อมล้ำอย่างไรไว้กับชีวิตของเหล่าเกษตรกรบ้าง
“ปัญหาความเหลื่อมล้ำ” ถือเป็นประเด็นปัญหาสำคัญของประเทศไทย ระบบ “รัฐสวัสดิการ” ถือเป็นทางออกหนึ่ง แล้วปัจจุบันประเทศไทยอยู่ในจุดไหนของรัฐสวัสดิการเทียบกับหลายประเทศทั่วโลก แล้วจะทำให้รัฐสวัสดิการในประเทศไทยดีขึ้นได้อย่างไร ? ร่วมหาคำตอบได้กับ ดร.วิทย์ สิทธิเวคิน และริชาร์ต วัชราทิตย์ เกษศรี