แนวโน้มของสถานการณ์การรับผิดชอบของกลุ่มประเทศต่าง ๆ ระหองระแหง โลกของเราในอนาคตหากไม่สามารถควบคุมให้อุณหภูมิโลกของเราร้อนขึ้นเกิน 1.5 องศาเซลเซียสก่อนยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม มนุษยชาติจะต้องรับมือกับภัยพิบัติอะไรบ้าง ความล้มเหลวในการทำตาม “สนธิสัญญาปารีส”
กล้องโทรทรรศน์อวกาศ WISE กล้องฯ ในย่านแสงอินฟราเรด กับการทำงานตลอด 13 ปี มันสร้างองค์ความรู้ใหม่ให้แก่นักดาราศาสตร์อย่างมากมาย เราจะมองย้อนดูภารกิจของกล้องโทรทรรศน์อวกาศ WISE ที่ถูกขยายภารกิจสู่ NEOWISE ที่ใกล้หมดเวลาของการปฏิบัติภารกิจ
จากการนำข้อมูลการบินโฉบน้ำพุที่พวยพุ่งขึ้นมาจากดวงจันทร์เอนเซลาดัส (Enceladus) ของยานแคสสินี (Cassini) มาวิเคราะห์ใหม่ นักวิทยาศาสตร์พบ “สารไฮโดรเจนไซยาไนด์” (Hydrogen cyanide: HCN) หนึ่งในสารประกอบสำคัญที่มีส่วนช่วยสร้างกรดอะมิโนให้กับสิ่งมีชีวิต
สุสานจักรพรรดิจิ๋นซีฮ่องเต้หรือแม้แต่การขุดสุสานหรือโบราณคดีขนาดใหญ่ใหม่ ๆ ไม่ว่าจะเป็นในพื้นที่ของอียิปต์ อเมริกาใต้ หรือในไทย ต่างเป็นเรื่องที่ชวนฉงนสงสัยทุกครั้งเมื่อโบราณสถานขนาดใหญ่เหล่านี้ไม่ได้ถูกฝังอยู่ใต้ดิน แต่เรากลับไม่พบเจอมันตั้งแต่แรก
Thai PBS Sci & Tech ขอหยิบยกภาพยนต์ขึ้นหิ้งระดับตำนานอย่าง “Star Wars” มาถกเถียงเจาะลึกเบื้องหลังความมหัศจรรย์ของจักรวาล Jedi และ Sith ผ่านมุมมองทางวิทยาศาสตร์ ตั้งแต่เทคโนโลยีสุดล้ำอย่าง Hyperspace ไปจนถึงพลังที่ซ่อนอยู่ในตัวมนุษย์อย่าง Force ร่วมพูดคุยกับ ผศ. ดร.ถกล ตั้งผาติ อาจารย์สาขาวิชาฟิสิกส์ ม.วลัยลักษณ์
“อย่ากลับบ้าน” ซีรีส์ไทยที่ไม่ใช่แค่เรื่องระทึกขวัญ แต่ยังเชื่อมโยงกับทฤษฎีทางฟิสิกส์ที่ซ่อนอยู่ Thai PBS Sci & Tech ชวน รศ.ดร.อรรถกฤต ฉัตรภูติ อาจารย์ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ มาร่วมไขปริศนาการย้อนเวลาและวนลูปเวลา ไม่ว่าจะเป็น Time Paradox, Bootstrap Paradox หรือ Grandfather Paradox ว่าเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ประหลาดที่เกิดขึ้นใน “บ้านจารึกอนันต์” อย่างไร สรุปแล้วความเชื่อมโยงของ “วารี” และ “มิน” คืออะไรกันแน่!
ไวรัสซอมบี้ในหนัง “Resident Evil” หรือ ผีชีวะ จะกลายเป็นจริงขึ้นมาได้หรือไม่ ? ชวน ผศ. ดร.ป๋วย อุ่นใจ มาร่วมไขปริศนา T-Virus และวิเคราะห์ตั้งแต่การกลายพันธุ์ของไวรัส การพัฒนายาปฏิชีวนะ ไปจนถึงความสำคัญของวัคซีน มนุษย์จะรับมือกับภัยคุกคามจากไวรัสได้อย่างไร
"เกมรักปาฏิหาริย์" กำลังเข้มข้น เราจึงขอพาไปรู้จักกับ "วศิธารา" “จันทร์ลดา หารอ่อนตา” ผู้แต่งนิยายเรื่องนี้จนถูกนำมาทำละครกัน เปิดโลกมองมุมนักข่าวยุคดิจิทัลที่มีอาชีพที่สองคือ “นักเขียนนิยาย” ใช้หัวใจฝันไปทีละบรรทัด บันดาลฝันสู่ความสำเร็จ เข้าไปอยู่ในใจนักอ่านนิยายรุ่นใหม่หลาย ๆ คน เป็นอีกหนึ่ง Case Study ก่อร่างสร้างแรงบันดาลใจตามหาฝันแล้วทำให้เป็นจริง
วันฮาโลวีน (Halloween) นี้ ชวนไขปริศนา “ผี” คืออะไร ผี...มีจริงไหม แล้วถ้ามีผีจริง ผีจะถูกจัดว่าเป็นอะไร พลังงาน สสารมืด หรือมิติที่สูงกว่า วิเคราะห์จากมุมมองนักฟิสิกส์ "รศ. ดร.สิขรินทร์ อยู่คง" รองผู้อำนวยการฝ่ายยุทธศาสตร์ วิทยาลัยเพื่อการค้นคว้าระดับรากฐาน ม.นเรศวร
การทดสอบส่งมนุษย์ไปสถานีอวกาศนานาชาติของยานสตาร์ไลเนอร์ ถือเป็นก้าวสำคัญของงานด้านอวกาศสหรัฐฯ เมื่อโบอิ้งเป็นบริษัทเอกชนกลุ่มที่สองที่สามารถส่งนักบินอวกาศให้กับนาซาได้ แต่กว่าจะถึงวันนี้เส้นทางของยานสตาร์ไลน์เนอร์นั้นต้องฝ่าอุปสรรคมากมาย ติดตามในทันโลก Sci & Tech กับ คุณ ธรณินทร์ เทพวงค์