ตรวจพบคลื่นสมองที่อาจเป็นสัญญาณไปสู่ภาวะใกล้ตายนักวิทยาศาสตร์ตรวจพบคลื่นสมองที่อาจเป็นสัญญาณไปสู่ภาวะใกล้ตายจากสมองของผู้ป่วยที่กำลังจะเสียชีวิต
พบ DNA มนุษย์โบราณ 20,000 ปี แทรกซึมอยู่ในสร้อยทำจากฟันกวางฟันกวางเจาะรูที่มนุษย์ถ้ำนำมาทำเป็นเครื่องประดับชิ้นนี้ มี DNA ของสตรีโบราณผู้สวมใส่อยู่ด้วย มีอายุเก่าแก่ถึง 20,000 ปี ซึ่งนับเป็นครั้งแรกที่นักวิทย์สามารถถอด DNA จากเครื่องประดับออกมาได้
เด็กทารกเกิดจาก DNA ของคน 3 คน เป็นครั้งแรกในสหราชอาณาจักรโรคติดต่อทางพันธุกรรมที่เกี่ยวกับความผิดปกติของไมโทคอนเดรีย ซึ่งเป็นชิ้นส่วนภายในเซลล์ที่สร้างพลังงานให้กับร่างกายนั้น สามารถรักษาได้แล้วผ่านการนำ DNA ของบุคคลที่ 3 ไปผสมกับเซลล์ของผู้ที่ต้องการมีบุตร
"ปลาทองไซบอร์ก" การทดลองสุดแปลก ศึกษาระบบนำทางจากสมองปลาทองนักวิทยาศาสตร์ติดตั้งอุปกรณ์รับสัญญาณประสาทจากสมองของปลาทอง เพื่อการทดลองระบบนำทางในสมองของปลาทอง ซึ่งมีส่วนสำคัญในการดำรงชีวิตของปลาทองทั้งในการออกหาอาหารและหลบหนีผู้ล่า
เข็มฉีดยาจิ๋วจากแบคทีเรีย นวัตกรรมใหม่สู้โรคร้ายนักวิจัยได้สร้างแบคทีเรียเฉพาะทางที่ทำหน้าที่เป็น "หน่วยขนส่งยา" สู่เซลล์ในร่างกายของมนุษย์โดยตรง เพื่อช่วยรักษาร่างกายในส่วนไม่สามารถรับยาได้จากวิธีทั่ว ๆ ไป
“ไวรัสโบราณ” อายุหลายล้านปี อาจช่วยรักษามะเร็งได้การศึกษาไวรัสโบราณที่หลบซ่อนอยู่ในพันธุกรรมของมนุษย์มาเป็นเวลาหลายล้านปีนั้นอาจช่วยร่างกายของพวกเราต่อสู้กับโรคมะเร็งได้
"มดลูกเทียม" หนทางการให้กำเนิดชีวิตใหม่ในอนาคต ?สำรวจความเป็นไปได้ของ "มดลูกเทียม" เทคโนโลยีฟูมฟักตัวอ่อนมนุษย์ให้เจริญเติบโตนอกครรภ์มารดา แก้ปัญหาการมีบุตรยาก และผลกระทบทางจริยธรรมที่อาจเกิดขึ้นกับมนุษย์ในอนาคต
หลักฐานใหม่! บรรพบุรุษของมนุษย์อาจไม่อยู่อาศัยในป่าดงดิบเหมือนลิง การค้นพบฟอสซิลของ ‘โมโรโตพิเทคัส’ (Morotopithecus) หรือ ลิงไร้หางสายพันธุ์ที่เก่าแก่ที่สุด ได้ลบล้างสมมติฐานเก่าที่กล่าวว่า "มนุษย์ยุคโบราณ" อาจวิวัฒนาการขึ้นมาเร็วขึ้นกว่าเดิมถึง 11 ล้านปี และไม่ได้อาศัยอยู่ในป่าดงดิบเหมือนลิง
อัญมณีในพิพิธภัณฑ์ กลายเป็นไข่ไดโนเสาร์ไททันโนซอรัส อายุ 67 ล้านปีภัณฑารักษ์อังกฤษสงสัย "แร่รัตนชาติ" ทรงกลมประหลาดก้อนหนึ่ง อาจเป็นไข่ของสิ่งมีชีวิตบางอย่าง ก่อนนำไปให้นักวิทยาศาสตร์ตรวจจนพบว่าเป็นไข่ไดโนเสาร์ "ไททันโนซอรัส" (Titanosaur) ซึ่งมีอายุราว 67 ล้านปี
รู้จัก "คอร์ดิเซป" เห็ดราผู้ควบคุมสมองแมลง และผู้รักษาสมดุลของธรรมชาติทำความรู้จักกับ “คอร์ดิเซป” เห็ดราสกุลหนึ่งที่มีทักษะควบคุมสมองของแมลงดั่งใจนึก คล้ายกับผีดิบจากนิยายวิทยาศาสตร์ ซึ่งนักวิทยาศาสตร์คาดว่าเห็ดราชนิดนี้ยังมีส่วนช่วยรักษาสมดุลของประชากรแมลงในธรรมชาติด้วย
นักวิทย์ใช้เวลา 12 ปี สร้างแผนที่ของสมองแมลงหวี่ ครั้งแรกของโลก!นักวิทยาศาสตร์ได้ใช้กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน บันทึกภาพเซลล์ประสาทในสมองของตัวอ่อนแมลงหวี่ ในแต่ละจุดเป็นเวลา 12 ปี ซึ่งแสดงให้เห็นถึงแผนที่การเชื่อมโยงเซลล์ประสาทที่สมบูรณ์แบบในสัตว์เป็นครั้งแรก
สตาร์ตอัปสหรัฐฯ เตรียมคืนชีพ "นกโดโด" ที่สูญพันธุ์ไปแล้วมากกว่า 300 ปีสตาร์ตอัปจากสหรัฐฯ วางแผนฟื้นคืนชีพนกโดโด (Dodo) นกสายพันธุ์โบราณขนาดยักษ์จากเกาะมอริเชียส ด้วยการตัดต่อพันธุกรรมจากนกพิราบนิโคบาร์
ระดมทุนวิจัย "ยารักษามะเร็ง" ลดค่ารักษา 2 แสนเหลือ 2 หมื่นบาท สื่อสังคมออนไลน์ชักชวนร่วมบริจาคเงินสมทบทุนวิจัย "ยารักษามะเร็ง" ตั้งเป้า 10 ล้านบาท หวังลดค่ารักษาจาก 200,000 บาท เหลือ 20,000 บาท ให้คนไทยทุกคนเข้าถึงการรักษาและยาจากแพทย์ไทยได้อย่างเท่าเทียม
ชีววิทยาเชิงระบบ ความหวังผู้ป่วยโรค “มะเร็ง”จุฬาฯ เปิดตัวศูนย์ชีววิทยาเชิงระบบ ความหวังใหม่ “ระบบสาธารณสุขของไทย” ด้วยวิทยาการและเครื่องมือที่ทันสมัย ในอนาคตประเทศไทยจะสามารถผลิตยารักษาโรคมะเร็งให้หายขาดได้ ผ่านการศึกษาวิจัยเพื่อเสริมสร้างเซลล์เม็ดเลือดขาวให้ต่อสู้กับเซลล์มะเร็งทุกชนิดอย่างตรงจุด
ผู้เชี่ยวชาญด้านชีววิทยา จุฬาฯ ชี้ ปลาดิบย้อมสีไม่ใช่สารเคมี แต่เป็นโปรตีนจากธรรมชาติ ผู้เชี่ยวชาญชีววิทยา จุฬาฯ ชี้ สีแดงละลายน้ำจากปลาโอในร้านอาหารญี่ปุ่นชื่อดังในห้างสรรพสินค้า คือมายโอโกลบินหรือสารโปรตีนในปลา ไม่ใช่การย้อมสี ตามที่ ผอ.ศูนย์วิจัยโรคสัตว์น้ำ คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาฯ กังวล
กฤตานนท์ ทศกูล : กลับมาเล่าเรื่องสตูล“กั้ม” หนุ่มสตูล ผู้หลงใหลการเล่าเรื่อง จนมีโอกาสเข้าร่วมการประกวดสารคดีระดับเยาวชน และหยิบเรื่องราวในบ้านเกิด มาเล่าเรื่องจนได้รับรางวัลระดับประเทศ ทำให้เขาเริ่มเห็นคุณค่าของวัฒนธรรม วิถีชีวิตชุมชนชาวเล